Page 229 - เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจถั่วเหลืองฤดูแล้งในเขตชลประทาน
P. 229

ผ-6








                           - ควรวางกระสอบที่บรรจุเมล็ดถั่วเหลืองในที่รม บนพื้นที่มีไมรอง

                        2) การขนสง

                           - ระหวางการขนสง ไมควรใหเมล็ดถั่วเหลืองถูกความชื้น
                           - รถบรรทุกตองสะอาด และเหมาะสมกับปริมาณเมล็ดถั่วเหลืองไมควรเปนรถที่ใช

               บรรทุกดิน สัตว มูลสัตว ปุยเคมี หรือสารปองกันกําจัดศัตรูพืช เพราะอาจมีการปนเปอน ยกเวน

               จะมีการทําความสะอาดอยางเหมาะสมกอนนํามาบรรทุก
                           - กรณีขนสงเมล็ดถั่วเหลืองในฤดูฝน ตองมีผาใบคลุม  เพื่อปองกันเมล็ดถั่วเหลือง

               ถูกความชื้นและไดรับความเสียหาย



               1.2  การผลิตถั่วเหลืองฝกสด

                        ถั่วเหลืองฝกสด (Vegetable Soybean หรือ Green  Soybean) เปนพืชที่มีแหลงกําเนิดอยู

               ในเขตอบอุนแถบเอเซียตะวันออก เชน ประเทศจีน แมนจูเรีย ญี่ปุน และเกาหลี เปนตน คนญี่ปุน
               นิยมบริโภคถั่วเหลืองฝกสดมานานแลว และไดมีการพัฒนาปรับปรุงพันธุถั่วเหลืองใหมีขนาดฝก

               และเมล็ดใหญ รสชาติหวาน เหมาะแกการบริโภคฝกสดในระยะที่ฝกและเมล็ดยังไมแกเกินไป

               คนญี่ปุนเรียกถั่วเหลืองฝกสดนี้วา อีดา มาเม (Eda  Mame)  คนไตหวันเรียก  เหมาโตะ (Mouto)
               “ถั่วเหลืองฝกสด”  มีชื่อภาษาอังกฤษวา  Vegetable Soybean หรือ Green Soybean  คนไทยสวนใหญ

               เรียกถั่วเหลืองฝกสดวา “ถั่วแระญี่ปุน” เนื่องมาจาก “ถั่วแระ” ที่คนไทยรูจักคุนเคยและปลูกมากอน

               หนานี้เปนผลผลิตที่ปลูกดวยพันธุถั่วเหลืองทั่วไปที่ปลูกเพื่อเก็บผลผลิตเมื่อฝกแกแหง โดยเก็บเกี่ยว
               ในขณะที่ฝกยังไมแกจัด เพื่อใชบริโภคเปนอาหารวางโดยการตมทั้งตนและฝก ลักษณะฝกของถั่วแระ

               ดังกลาวมีขนาดฝกและเมล็ดเล็ก สีของฝกเมื่อตมแลวจะมีสีเขียวแกมเหลืองซึ่งแตกตางจากลักษณะ

               ฝกของพันธุถั่วเหลืองฝกสดโดยตรง ที่มีฝกขนาดใหญ และมีสีเขียวเขม

                        ประเทศไทยสามารถปลูกถั่วเหลืองฝกสดไดทั้งประเทศ แหลงปลูกสวนใหญอยูใน
               จังหวัดตางๆ ทางภาคเหนือ เชน กําแพงเพชร เชียงราย เชียงใหม พะเยา พิจิตร พิษณุโลก ลําพูน

               ลําปาง อุทัยธานี ซึ่งเปนแหลงผลิตเพื่อสงออก ดําเนินการโดยบริษัทเอกชนในรูปแบบครบวงจร

               สวนการผลิตเพื่อการบริโภคภายในประเทศมีปลูกกันมากในจังหวัดนครสวรรค สระบุรี ลพบุรี

               สระแกว  กาญจนบุรี และเพชรบุรี  เปนตน











               เขตการใชที่ดินพืชเศรษฐกิจถั่วเหลืองฤดูแลงในเขตชลประทาน    สํานักสํารวจดินและวางแผนการใชที่ดิน
   224   225   226   227   228   229   230   231   232   233   234