Page 227 - เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจถั่วเหลืองฤดูแล้งในเขตชลประทาน
P. 227

ผ-4








                   1.1.3 การปลูก

                        1) การเตรียมดิน

                           - เปนการปลูกในฤดูแลง หลังเก็บเกี่ยวขาวใหตัดตอซังทิ้งไวในนา โดยไมตองไถ
               หรือพรวนดิน

                           - การปลูกในกระทงนาพื้นที่ประมาณ 400  ตารางเมตร ควรขุดรองระบายน้ํารอบ

               กระทงนาและผานกลางแปลง กวาง 30 เซนติเมตร ลึก 20 เซนติเมตร

                        2)  การวิเคราะหดิน

                           - ถาดินมีอินทรียวัตถุต่ํากวา 1.5  เปอรเซ็นต ใหหวานปุยคอกหรือปุยหมักที่ยอย

               สลายดีแลว อัตรา 1,000-1,500 กิโลกรัมตอไร แลวพรวนกลบ
                           - ถาดินมีคาความเปนกรดดางต่ํากวา 5.5 ใหหวานปูนขาว อัตรา 100-200 กิโลกรัมตอไร

               แลวพรวนกลบ


                        3) การเตรียมเมล็ดพันธุ
                           - ใชเมล็ดพันธุจากแหลงและแปลงที่ไมมีโรคระบาด

                           - เมล็ดพันธุตองมีความสมบูรณ ปราศจากรองรอยการทําลายของโรคและแมลง มี

               ความงอกไมนอยกวา 75 เปอรเซ็นต
                           - ใชเมล็ดพันธุ อัตรา 12-15  กิโลกรัมตอไร คลุกกับไรโซเบียม 200  กรัม โดยใช

               น้ําตาลทราย 75 กรัม ละลายน้ํา 300 มิลลิลิตร เปนสารยึดเกาะแลวปลูกทันที

                        4)  วิธีการปลูก

                           - ใชไมปลายแหลมทําหลุมกวาง 2-3 เซนติเมตร ลึก 3-4 เซนติเมตร แลวหยอดเมล็ด

               พันธุ 4-5 เมล็ดตอหลุม

                           - ระยะปลูกและจํานวนตนที่เหมาะสมมีดังนี้
                           พืชอายุสั้น ระยะปลูก 25 x 25 เซนติเมตร ไดประมาณ 100,000 ตนตอไร

                           พันธุอายุปานกลาง ระยะปลูก  40 x 20  เซนติเมตร ไดประมาณ  64,000  ตนตอไร




















               เขตการใชที่ดินพืชเศรษฐกิจถั่วเหลืองฤดูแลงในเขตชลประทาน    สํานักสํารวจดินและวางแผนการใชที่ดิน
   222   223   224   225   226   227   228   229   230   231   232