Page 58 - รายงาน ผลของการใช้ผลิตภัณฑ์ชีวภาพเพื่อเร่งการย่อยสลายตอซังข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ Effect of using biological products for accelerating the degradation of maize stubble
P. 58

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                                                          52









                  ตารางที่ 9 เปอร์เซ็นต์น้ำหนักแห้งที่เหลืออยู่ของเศษพืชตามช่วงระยะเวลาการย่อยสลายตอซังข้าวโพดเลี้ยง
                            สัตว์ในสภาพแปลงจากการปลูกรอบที่ 1
                                                           น้ำหนักแห้งที่เหลืออยู่ของเศษพืช (เปอร์เซ็นต์)
                         ตำรับการทดลอง
                                                10 วัน    20 วัน     30 วัน      40 วัน    50 วัน    60 วัน

                   1 = ควบคุม                   83.40  70.75 a       61.43 a   20.71 a  8.59 a  8.01 a
                   2 = น้ำหมักชีวภาพ            70.29  63.06 b       56.89 a   11.40 b  5.31 bc  6.71 ab
                   3 = ผลิตภัณฑ์จุลินทรีย์ผสม   78.14  61.50 b       60.73 a  13.88 b  4.43 c  3.13 c

                       เอนไซม์เซลลูเลส
                   4 = ผลิตภัณฑ์เอนไซม์เซลลูเลส  75.01  56.76 b      49.95 b   10.03 b  7.63 ab  6.70 ab

                   5 = ผลิตภัณฑ์ พด.1           83.23  59.60 b       47.83 b   12.71 b  7.59 ab  4.96 bc
                              F-test              ns       **          **          *         *         **

                             CV (%)              9.04     7.04        7.64       26.17     25.14     23.27

                  หมายเหตุ : ตัวอักษรที่เหมือนกันในสดมภ์เดียวกันไม่มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติโดยการใช้ DMRT
                            ns  ไม่แตกต่างกันทางสถิติ
                            *  แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ

                            **  แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญยิ่งทางสถิติ

                               2) อัตราการสลายตัวของตอซังข้าวโพดเลี้ยงสัตว์
                                 ผลการศึกษาอัตราการสลายตัวของตอซังข้าวโพดเลี้ยงสัตว์จากการปลูกรอบที่ 1 จากการ

                  ประเมินด้วยสมการ Olson (1963) พบว่า ค่าคงที่ของการย่อยสลาย (k) ตำรับการทดลองที่ 4 การใช้
                  ผลิตภัณฑ์เอนไซม์เซลลูเลส อัตรา 100 กรัมต่อน้ำ 50 ลิตรต่อไร่ อัตราการสลายตัว (k) ทุก 10 วัน มีค่าคงที่
                  ของการย่อยสลาย (k) สูงสุด 0.0368 รองลงมา คือ ตำรับการทดลองที่ 5 การใช้ผลิตภัณฑ์สารเร่งซุปเปอร์ พด.
                  1 อัตรา 100 กรัมต่อน้ำ 50 ลิตรต่อไร่ มีค่า 0.0365 ตำรับการทดลองที่ 2 การใช้น้ำหมักชีวภาพ อัตรา 5 ลิตร

                  ต่อน้ำ 50 ลิตรต่อไร่ มีค่า 0.0348 และตำรับการทดลองที่ 3 การใช้ผลิตภัณฑ์จุลินทรีย์ผสมเอนไซม์เซลลูเลส
                  อัตรา 100 กรัมต่อน้ำ 50 ลิตรต่อไร่ มีค่า 0.0343 ขณะที่ตำรับควบคุมมีค่าอัตราการสลายตัวต่ำสุด 0.0307
                  และจากภาพที่ 17 แสดงเห็นได้ว่า อัตราการย่อยสลายของตอซังข้าวโพดเลี้ยงสัตว์จากการปลูกรอบที่ 1 เป็น

                  แบบต่อเนื่อง จึงไม่สามารถแบ่งช่วงการสลายตัวของสารอินทรีย์ด้วยการใช้แบบจำลองการสลายตัวด้วย
                  double pool model แต่อย่างไรก็ตาม การใช้ผลิตภัณฑ์จุลินทรีย์ผสมเอนไซม์เซลลูเลส และผลิตภัณฑ์
                  เอนไซม์เซลลูเลส ยังคงมีค่าอัตราการสลายตัว (k) ของตอซังข้าวโพดเลี้ยงสัตว์สูงกว่าการตำรับควบคุม
   53   54   55   56   57   58   59   60   61   62   63