Page 55 - รายงาน ผลของการใช้ผลิตภัณฑ์ชีวภาพเพื่อเร่งการย่อยสลายตอซังข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ Effect of using biological products for accelerating the degradation of maize stubble
P. 55

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                                                          49








                  ตารางที่ 8 ค่ากิจกรรมเอนไซม์เซลลูเลสตามช่วงระยะเวลาการย่อยสลายของตอซังข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ในสภาพ
                            โรงเรือนกระจก

                                                               กิจกรรมเอนไซม์เซลลูเลส (µg glucose g  soil h )
                                                                                                         -1
                                                                                                  -1
                                ตำรับการทดลอง
                                                            10 วัน    20 วัน    30 วัน    40 วัน    50 วัน
                   1 = ควบคุม                               0.16 d    1.47 d  1.97 bc  1.15 c       0.79 c

                   2 = น้ำหมักชีวภาพ                        1.49 c    1.87 cd  3.89 a     2.12 ab  1.00 bc
                   3 = ผลิตภัณฑ์จุลินทรีย์ผสมเอนไซม์เซลลูเลส   2.06 bc  2.53 b  2.61 b    2.09 ab  1.34 a
                       อัตรา 25 กรัมต่อน้ำ 50 ลิตร/ไร่

                   4 = ผลิตภัณฑ์จุลินทรียผสมเอนไซม์เซลลูเลส   1.49 c   3.59 a   2.63 b    2.21 ab  1.31 ab
                       อัตรา 50 กรัมต่อน้ำ 50 ลิตร/ไร่
                   5 = ผลิตภัณฑ์จุลินทรีย์ผสมเอนไซม์เซลลูเลส   3.05 a   2.48 bc  1.96 bc  2.27 a    1.29 ab
                       อัตรา 100 กรัมต่อน้ำ 50 ลิตร/ไร่
                   6 = ผลิตภัณฑ์เอนไซม์เซลลูเลส             1.46 c    2.75 b  1.88 c      1.74 b    1.21 ab

                       อัตรา 25 กรัมต่อน้ำ 50 ลิตร/ไร่
                   7 = ผลิตภัณฑ์เอนไซม์เซลลูเลส             2.60 ab  2.84 b  2.22 bc  1.85 ab  1.29 ab
                       อัตรา 50 กรัมต่อน้ำ 50 ลิตร/ไร่

                   8 = ผลิตภัณฑ์เอนไซม์เซลลูเลส             1.69 c    2.64 b  2.37 bc  2.16 ab  1.20 ab
                       อัตรา 100 กรัมต่อน้ำ 50 ลิตร/ไร่
                                    F-test                     **        **        **        **        *

                                   CV (%)                     23.41     14.21     16.74     14.07    15.53

                  หมายเหตุ : ตัวอักษรที่เหมือนกันในสดมภ์เดียวกันไม่มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติโดยการใช้ DMRT
                            *  แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ
                            **  แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญยิ่งทางสถิติ


                                 จากผลการศึกษาประสิทธิภาพของผลิตภัณฑ์จุลินทรีย์ผสมเอนไซม์เซลลูเลสแบบผงละลาย
                  น้ำ และผลิตภัณฑ์เอนไซม์เซลลูเลสแบบผงละลายน้ำ จากผลการทดลองข้างต้นจะเห็นได้ว่า การใช้ผลิตภัณฑ์

                  จุลินทรีย์ผสมเอนไซม์เซลลูเลสอัตรา 100 กรัม ต่อน้ำ 50 ลิตรต่อไร่ ที่ระยะเวลาการย่อยสลาย 10 วัน มีค่า
                  กิจกรรมเอนไซม์เซลลูเลสในดินสูงสุด 3.05 ไมโครกรัมของกลูโคสต่อดิน 1 กรัมต่อชั่วโมง มีค่าสูงกว่าการใช้
                  ผลิตภัณฑ์เอนไซม์เซลลูเลสอัตรา 100 กรัม ต่อน้ำ 50 ลิตรต่อไร่ และการใช้น้ำหมักชีวภาพ มีค่า 1.69 และ
                  1.49 ไมโครกรัมของกลูโคสต่อดิน 1 กรัมต่อชั่วโมง ตามลำดับ มีค่าสูงกว่าคิดเป็น 80.47 และ 104.70

                  เปอร์เซ็นต์ ตามลำดับ ทั้งนี้เนื่องจากผลิตภัณฑ์จุลินทรีย์ผสมเอนไซม์เซลลูเลสประกอบด้วยปริมาณเชื้อ
                  Corynascus verrucosus 23 เท่ากับ 15.53 log เซลล์ต่อกรัม มีค่ากิจกรรมเอนไซม์เซลลูเลส เท่ากับ 0.264
                  ยูนิตต่อมิลลิลิตร ขณะที่ผลิตภัณฑ์เอนไซม์เซลลูเลสมีเพียงค่ากิจกรรมเอนไซม์เซลลูเลสในผลิตภัณฑ์ เท่ากับ
                  0.227 ยูนิตต่อมิลลิลิตร จากการทดสอบประสิทธิภาพของทั้ง 2 ผลิตภัณฑ์ต่อการย่อยสลายตอซังข้าวโพดเลี้ยงสัตว์

                  ในดินสภาพโรงเรือนกระจก แสดงให้เห็นว่า การใช้ผลิตภัณฑ์จุลินทรีย์ผสมกับเอนไซม์เซลลูเลส สามารถ
   50   51   52   53   54   55   56   57   58   59   60