Page 23 - รายงานผลการดำเนินการพัฒนาองค์การสู่ระบบราชการ 4.0 (PMQA 4.0) ประจำปี 2565 (Application Report 2022)
P. 23

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน








                                                 ปีที่
                       ชื่อแผนงาน/โครงการ                                     ผลที่คาดว่าจะได้รับ
                                               ดำเนินการ
                       1.4 การพัฒนาแพลตฟอร์มเพื่อ  2564    1) แพลตฟอร์มสนับสนุนการวิเคราะห์และการใช้ประโยชน์ข้อมูลขนาดใหญ่ใน
                   สนับสนุนการวิเคราะห์และการใช้           ภาคการเกษตรด้วยการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่
                   ประโยชน์ข้อมูลขนาดใหญ่ในภาค             2) บริหารจัดการข้อมูลด้านการเกษตรให้เป็นระบบและครบวงจร (Management
                   การเกษตร                                Life Cycle) เพิ่มประสิทธิภาพการวิเคราะห์และตัดสินใจบนหลักฐานเชิงประจักษ์
                   2. เครือข่ายความร่วมมือ ระดับประเทศ
                       2.1 โครงการ “การประเมิน   2563      - เครือข่ายห้องปฏิบัติการวิเคราะห์ดินของประเทศไทย เป็นช่องทางให้สมาชิก
                   ความสามารถของห้องปฏิบัติการ   (ทุน      ห้องปฏิบัติการวิเคราะห์ดินจากหน่วยงานต่าง ๆ ทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน และ
                   และสร้างความร่วมมือด้านการ  FAO/RAP)    มหาวิทยาลัย ปรึกษาหารือและร่วมกันพัฒนามาตรฐานด้านการวิเคราะห์ดิน
                   วิเคราะห์ดินของไทยภายใต้                โดยมุ่งหวังให้ผลการวิเคราะห์ดินจากทุกห้องปฏิบัติการสมาชิก มีความน่าเชื่อถือ
                   โครงการ Strengthening the               และมีมาตรฐานเดียวกัน เป็นประโยชน์ต่อผู้ขอรับบริการทุกกลุ่มที่จะได้รับผล
                   CESRA network for                       วิเคราะห์ดินที่มีมาตรฐานเดียวกันทั้งประเทศ สามารถเลือกใช้บริการได้ตาม
                   Sustainable Soil Management”            ความเหมาะสม
                   3. เครือข่ายความร่วมมือ ระดับสากล
                       3.1 โครงการ Development   2564      เครือข่ายหมอดินอาสาและบุคลากรภาครัฐที่รับผิดชอบด้านดินของ
                   and promotion of soil                   ประเทศสมาขิกอนุภูมิภาคล้านช้าง-แม่โขง 6 ประเทศ ได้แก่ กัมพูชา ลาว
                   doctors programme for                   เมียนมา จีน และไทย จะเป็นภาคส่วนที่เข้มแข็งในการอนุรักษ์และฟื้นฟู
                   sustainable land and                    ทรัพยากรดินให้เกิดการใช้ประโยชน์อย่างยั่งยืน ผ่านการแลกเปลี่ยนเรียนรู้
                   agriculture management in               เกี่ยวกับประสบการณ์การจัดการดินที่มีสภาพปัญหาและสภาพพื้นที่ที่
                   Lancang-mekong countries                คล้ายคลึงกัน
                       3.2 โครงการพัฒนาแนวทาง  2565-2566   - การพัฒนาตัวชี้วัดการสร้างแรงจูงใจด้านการใช้ที่ดินต่อปัจจัยด้านน้ำและ
                   และตัวชี้วัดการสร้างแรงจูงใจการ  (ทุนสกสว.)   สภาพภูมิอากาศ
                   สร้างแรงจูงใจในการใช้ที่ดิน
                   เหมาะสมภายใต้ปัจจัยการ
                   เปลี่ยนแปลงการใช้ที่ดินและ
                   ภูมิอากาศ พื้นที่ คทช. (ความ
                   ร่วมมือกรมพัฒนาที่ดิน สำนักงาน
                   สิ่งแวดล้อมภาคที่ 11 และ
                   สถาบันวิจัย IGES ประเทศญี่ปุ่น
                      3.3 โครงการ Strengthening   2564     1) เครือข่ายการวิจัยและพัฒนาทางด้านดินและที่ดินระดับชาติและระดับ
                   the Center of Excellence for            ภูมิภาคที่เข้มแข็ง 2) เสริมสร้างเครือข่ายนักวิชาการด้านดินที่มีความสามารถใน
                   Soil Research in Asia (CESRA)           การวิจัยเกี่ยวกับการจัดการดินอย่างยั่งยืนในรูปแบบการบูรณาการ
                   network for Sustainable Soil            ระดับประเทศและระดับภูมิภาค 3) ทีมผู้เชี่ยวชาญด้านวิทยาศาสตร์ทางดิน
                   Management (ความร่วมมือกรม              แลกเปลี่ยนข้อมูล การถ่ายทอดองค์ความรู้ และผลงานวิจัย 4) เครือข่าย
                   พัฒนาที่ดิน สมาคมดินและปุ๋ย             ห้องปฏิบัติการวิเคราะห์ดินระดับชาติที่เข้มแข็งขึ้น มีประสิทธิภาพได้มาตรฐาน
                   แห่งประเทศไทย และ FAO)                  และสอดคล้องกัน
                      3.4 โครงการจัดทำฐานข้อมูลดิน  2559-2565   1) ข้อมูลและแผนที่ดินระดับประเทศ ได้แก่ ข้อมูลสำรวจและจำแนกดิน ข้อมูล
                   ของประเทศไทย สนับสนุนระบบ               การกักเก็บคาร์บอนในดิน ข้อมูลดินดี และข้อมูลดินที่มีผลกระทบจากเกลือ เป็น
                   สารสนเทศดินโลก (Global Soil             ต้น ตามหลักเกณฑ์และวิธีการในมาตรฐานสากลที่ได้กำหนดร่วมกัน
                   Information Systems, GLOSIS)            2) ใช้ในการเชื่อมโยงแลกเปลี่ยนข้อมูล ผ่านระบบ GLOSIS ทำให้ทราบถึง
                   โดยองค์การอาหารและเกษตรแหล่ง            สถานการณ์ปัจจุบันของทรัพยากรดินในแต่ละประเทศ ภูมิภาคและระดับโลก
                   สหประชาชาติ (FAO) ภายใต้กรอบ            3) เป็นข้อมูลพื้นฐานในการวางแผนโครงการและกิจกรรมต่างๆ โดยเฉพาะการ
                   สมัชชาความร่วมมือทรัพยากรดิน            บริหารจัดการของทรัพยากรดินต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ การ
                   แห่งเอเชีย (Asian Soil                  ปรับปรุงแก้ไขดินที่มีข้อจากัดต่อการเกษตร การพัฒนาพื้นที่ดินเสื่อมโทรม
                   Partnership, ASP)                       และการอนุรักษ์ทรัพยากรดิน เพื่อให้สามารถบรรลุผลตามเป้าหมายการพัฒนา
                                                           อย่างยั่งยืน (SDGs) ต่อไป
   18   19   20   21   22   23   24   25   26   27   28