Page 19 - รายงานผลการดำเนินการพัฒนาองค์การสู่ระบบราชการ 4.0 (PMQA 4.0) ประจำปี 2565 (Application Report 2022)
P. 19

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน


    ความสำคัญเชิงเปรียบเทียบของพันธกิจหรือหน้าที่ต่อความสำเร็จของส่วนราชการ   ประเด็นการเปลี่ยนแปลงด้านบุคลากรที่สำคัญคืออะไร    ความสำคัญของสมรรถนะหลักของส่วนราชการที่มีต่อการ

 และการเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศคืออะไร : พด. มีพันธกิจหลัก   1) โครงสร้างอายุราชการในตำแหน่งที่สำคัญ 2) เทคโนโลยีดิจิทัลในการ  พัฒนาเศรษฐกิจ สังคม สาธารณสุขและสิ่งแวดล้อมของ
    ในการเพิ่มประสิทธิภาพการใช้ที่ดิน ให้เกิดประโยช์สูงสุดต่อการบริหารจัดการทรัพยากร  ปฏิบัติงาน 3) สมรรถนะและทักษะบุคลากรที่รองรับการเปลี่ยนแปลง   ประเทศคืออะไรทั้งทางตรงและทางอ้อม :


 ดินของประเทศ จึงกำหนดทิศทางและแนวทางการขับเคลื่อนการดำเนินงานสู่เกษตร 4.0   พื้นฐานของบุคลากรที่มีผลต่อการวางแผนการพัฒนาและการ
    ให้มีการผลิตทางการเกษตรได้อย่างมีประสิทธิภาพ มีคุณภาพได้มาตรฐาน สอดคล้องกับ  สร้างขีดความสามารถในการเป็นองค์การสมรรถนะสูงมีอะไรบ้าง :   1) ทางตรง (1) ด้านเศรษฐกิจ : การเพิ่มประสิทธิภาพการ
 ความต้องการของตลาด และเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม โดยให้ความสำคัญกับการนำ  1) ระดับความรู้และทักษะของบุคลากรในแต่ละตำแหน่ง 2) ทักษะ  ผลิตพืช ทำให้เกษตรกรสามารถเพิ่มผลผลิต ลดต้นทุน มี
    เทคโนโลยีและนวัตกรรมสมัยใหม่เข้ามาช่วยในการผลิตด้วยแนวคิด SMART Agriculture   ความเข้าใจและใช้เทคโนโลยีดิจิทัล(Digital literacy) 3) ทักษะการ  รายได้เพิ่มขึ้น ส่งผลต่อรายได้สุทธิทางการเกษตรของประเทศ


 สอดคล้องกับสถานการณ์โลกในปัจจุบัน การพัฒนาและเปลี่ยนแปลงไปอย่างไร้ขีดจำกัด   เพิ่มขึ้น  (2) ด้านสิ่งแวดล้อม : ลดการชะล้างพังทลายของดิน
    ทำให้ พด.ต้องปรับรูปแบบกระบวนการทำงานให้ทันต่อการเปลี่ยนผ่านสู่ Digital   มองภาพองค์รวม (Conceptual Skill) 4) ทักษะการคิดวิเคราะห์เชิง  ป้องกันการเสื่อมโทรมของทรัพยากรดิน  2) ทางอ้อม (1)
 Transformation และพัฒนาองค์การสู่ระบบราชการ 4.0 โดยนำเทคโนโลยีดิจิทัลมาใช้ใน  ระบบ (Systemic Thinking)     ด้านสังคม : การสร้างหมอดินอาสา ช่วยสร้างความเข้มแข็ง

   การปรับปรุงกระบวนการปฏิบัติงานและการให้บริการที่มีคุณภาพ สนองความต้องการ  ในการทำงาน บุคลากรจำเป็นต้องดูแลเกี่ยวกับความเสี่ยงภัยอะไรบ้าง   ให้เกษตรกร เกิดการรวมกลุ่มและสร้างเครือข่ายเกษตรกร
 และความคาดหวังของผู้รับบริการ ส่งผลให้เกษตรกรสามารถใช้ประโยชน์ที่ดินได้อย่าง  ข้อกำหนดพิเศษการปฏิบัติงาน : บุคลากรที่ปฏิบัติงานใน  ชุมชนเกิดความเข้มแข็งเป็นจุดเริ่มต้นอาหารปลอดภัย สังคม

   ถูกต้องและเหมาะสม ยั่งยืน บนพื้นฐานการเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม    ห้องปฏิบัติการเกี่ยวกับสารเคมีและจุลินทรีย์ มีความจำเป็นที่จะต้อง  มีความสุข (2) ด้านสาธารณสุข : การใช้ปุ๋ยอินทรีย์ลดใช้


    กฎหมายและกฎระเบียบอะไรที่มีอยู่และเอื้อให้ส่วนราชการทำงานอย่างมีความคล่องตัว  ปฏิบัติงานให้เป็นไปตามมาตรฐานด้านความปลอดภัยของห้องปฎิบัติการ  สารเคมีทางการเกษตร/เกษตรอินทรีย์ (3) ด้านสิ่งแวดล้อม :
 และตอบสนองการเปลี่ยนแปลงอย่างมีประสิทธิภาพ : 1) พ.ร.บ. พัฒนาที่ดิน พ.ศ. 2551   กลาง มีการอบรมผ่านหลักสูตร E-learning ของกรมวิทยาศาสตร์บริการ   การลดการเผาตอซังพืชเพื่อแก้ปัญหาหมอกควัน ช่วยรักษา
 2) ระเบียบกรมพัฒนาที่ดิน ว่าด้วยข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. 2562 3) คำสั่งมอบ  และมีการสำรวจสภาพความปลอดภัยของห้องปฏิบัติการโดยใช้เครื่องมือ
   อำนาจของกรมพัฒนาที่ดิน 4) พ.ร.บ. การจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ.   อินทรียวัตถุในดิน และลดมลพิษทางอากาศของชุมชนและ
 2560 ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ.   ESPReL Checklist อย่างสม่ำเสมอ รวมทั้งจัดตรวจสุขภาพประจำปี  บริเวณรอบชุมชน
    2560 กฎกระทรวงและหนังสือเวียนกรมบัญชีกลางเกี่ยวกับการจัดซ้ดจัดจ้าง    ให้กับเจ้าหน้าที่ เพื่อสร้างความปลอดภัยให้แก่บุคลากร ประจำทุกปี


    สภาพแวดล้อมด้านการแข่งขันทั้งภายในและภายนอกประเทศของส่วนราชการเป็นเช่นใด? ประเด็นการแข่งขันคืออะไร  และมีผลต่อการดำเนินการของส่วนราชการอย่างไร :   การเปลี่ยนแปลงความสามารถในการแข่งขันที่สำคัญคืออะไร
 ด้านการแข่งขันภายใน : 1) การบูรณาการการทำงานกับหน่วยงานที่กำกับนโยบายและแผนบริหารจัดการที่ดินและทรัพยากรดินของประเทศ ที่มีการจัดทำนโยบายและแผน  ส่งผลต่อสถานการณ์แข่งขันของประเทศอย่างไร :

 ระดับประเทศ มีการกำหนดพันธกิจ เป้าหมายและตัวชี้วัดด้านการใช้ที่ดินและทรัพยากรดินที่ส่งผลให้กรมพัฒนาที่ดินต้องปรับแผนการดำเนินงานให้สอดคล้องกับนโยบายดังกล่าว   การเปลี่ยนแปลงความสามารถในการแข่งขันที่สำคัญ คือ พด.
 2) การจัดทำข้อมูลการใช้ที่ดิน(Land use) ซึ่งมีการให้ข้อมูลที่แตกต่างกันเนื่องจากการใช้เทคโนโลยีวิธีการจัดเก็บที่แตกต่างกัน ส่งผลให้การนำข้อมูลไปใช้ในการกำหนดนโยบายและ  เปลี่ยนแปลงความสามารถในการแข่งขัน โดยขับเคลื่อนงานพัฒนา
 แผนการใช้ที่ดินไม่เป็นเอกภาพ 3) ผลิตภัณฑ์เทคโนโลยีชีวภาพ มีหน่วยงานทั้งภาครัฐและเอกชนศึกษาวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์จุลินทรีย์เพื่อช่วยเกษตรกรในการลดต้นทุนและ  ที่ดินเชิงบูรณาการจากนโยบายสู่การปฏิบัติในระดับพื้นที่ นำ
 สนับสนุนการผลิตอาหารปลอดภัย ทำให้กรมต้องศึกษาและวิจัยผลิตภัณฑ์จุลินทรีย์ชนิดใหม่ที่มีความหลากหลายและใช้งานง่าย ซึ่งปัจจุบันกรมได้พัฒนาผลิตภัณฑ์จุลินทรีย์ พด. 1- พด.14   หลักการตลาดนำการผลิตมาใช้ในการพัฒนาและส่งเสริมกิจกรรม

 ที่สามารถใช้ประโยชน์ได้ครอบคลุมปัญหาด้านการเกษตรได้มากกว่าหน่วยงานอื่นๆ 4) ห้องปฏิบัติการวิเคราะห์ดิน มีหน่วยงานภาครัฐ เอกชน และสถาบันการศึกษา ที่ให้บริการ  ด้านการพัฒนาที่ดิน ผ่านกระบวนการมีส่วนร่วมของเกษตรกรและ
 วิเคราะห์ดิน แต่เป็นบริการที่มีค่าใช้จ่าย ในขณะที่เกษตรกรมีความต้องการรับบริการจำนวนมากและไม่ต้องการมีค่าใช้จ่าย ทำให้กรมพัฒนารูปแบบการให้บริการที่สอดคล้องกับ  ชุมชน ประกอบด้วย การบริหารจัดการพื้นที่เกษตรกรรม (Zoning by
 ความต้องการของเกษตรกร 5) การส่งเสริมและถ่ายทอดเทคโนโลยี ซึ่งในระดับพื้นที่ มีหน่วยงานทั้งภายในและภายนอกกระทรวงเกษตรฯ  ทำหน้าที่ในการถ่ายทอดองค์ความรู้และ  Agri-map) การให้บริการเชิงรุกด้วยบัตรดินดี การพัฒนาดินออนไลน์

 เทคโนโลยีด้านต่างๆ สำหรับกรมมีหน้าที่ถ่ายทอดความรู้ด้านการพัฒนาที่ดินจำเป็นต้องพัฒนาบุคลากรให้เป็น Smart officer และ เทคโนโลยี/ช่องทาง ให้เกษตรกรเข้าถึงองค์
 ความรู้และเทคโนโลยีของกรมได้อย่างสะดวก รวดเร็ว ง่ายต่อการใช้งาน ด้านการแข่งขันภายนอก : 1) การขับเคลื่อนเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (SGDsที่ 2 และ 15) ทำให้แต่ละ  การพัฒนาหมอดินอาสา 4.0  เพื่อปรับกระบวนการทำงานโดยใช้
 ประเทศต้องจัดเก็บข้อมูลตัวชี้วัด เพื่อให้บรรลุเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนภายในปี ค.ศ.2030 กรมซึ่งเป็นผู้ประสานงานหลักUNCCD และเกี่ยวข้องกับตัวชี้วัด 15.3.1 (สัดส่วนของ  เทคโนโลยีดิจิทัล ร่วมกับการสาธิตส่งเสริมกิจกรรมต่างๆ ให้
 พื้นที่ดินที่ได้รับความเสื่อมโทรมเทียบกับพื้นที่ทั้งหมด) เกี่ยวข้องกับการจัดการความสมดุลของทรัพยากรดิน (Land degradation-neutral World by 2030) ส่งผลให้ต้องจัดทำ  สอดคล้องกับสภาพของพื้นที่และความต้องการของเกษตรกร ทำให้

 แผนงานโครงการให้สามารถขับเคลื่อนเป้าหมายและตัวชี้วัดของประเทศได้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดล้อมในการแข่งขันกับประเทศอื่นๆ  2) การจัดทำระบบฐานข้อมูล  เกษตรกรสามารถเข้าถึงข้อมูลได้สะดวกรวดเร็ว เป็นการเพิ่ม
 ดินระดับภูมิภาคเอเชีย ทำให้กรมในฐานะที่เป็นเจ้าภาพหลักประสานงานในภูมิภาคเอเชียต้องกำหนดระบบฐานข้อมูลดินให้เป็นมาตรฐานเดียวกัน 3) การจัดทำต้นแบบการจัดการ  ประสิทธิภาพการผลิตภาคการเกษตรให้ทันกับการแข่งขันและ
 ดินอย่างยั่งยืน(Best Practice) กับประเทศต่างๆ ในระดับภูมิภาคเอเชีย ทำให้กรมยกระดับการทำงานเพื่อให้ได้แนวปฏิบัติที่เป็นเลิศ เป็นที่ยอมรับในระดับโลก 4) ห้องปฏิบัติการ  ความต้องการของตลาด ขณะที่ประเทศไทยกำลังก้าวผ่านสู่สังคม

 วิเคราะห์ดิน กรมต้องดำเนินการร่วมกับหน่วยงานเครือข่าย GLOSOLAN และ SEALNET ในการทดสอบความชำนาญห้องปฏิบัติการ (Proficiency Testing) เพื่อพัฒนาเทคนิค   และเศรษฐกิจดิจิทัล และขยายตัวเพื่อเติบโตด้านการพัฒนาและ
 วิธีการวิเคราะห์ดิน โดยมีเป้าหมายให้การวิเคราะห์ดินมี การรายงานผลการทดสอบมีความถูกต้องและแม่นยำ สร้างความเชื่อมั่นให้กับผู้รับบริการ เพื่อเป็นการยกระดับคุณภาพและ  เพิ่มมูลค่าสินค้าเกษตรให้ทันต่อการแข่งขันในตลาดโลก
 มาตรฐานห้องปฏิบัติการให้มีมาตรฐานเดียวกันกับห้องปฏิบัติการวิเคราะห์ดินในต่างประเทศ
   14   15   16   17   18   19   20   21   22   23   24