Page 22 - รายงานผลการดำเนินการพัฒนาองค์การสู่ระบบราชการ 4.0 (PMQA 4.0) ประจำปี 2565 (Application Report 2022)
P. 22
ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
ปีที่
ชื่อแผนงาน/โครงการ ผลที่คาดว่าจะได้รับ
ดำเนินการ
- องค์ความรู้วิธีการผลิตและใช้ประโยชน์ผลิตภัณฑ์จุลินทรีย์สร้างสารเสริม
การเจริญเติบโตของพืชทนแล้ง ในการปลูกพืชเศรษฐกิจ ที่เกิดผลกระทบ
จากภาวะโลกร้อน
4. โครงการแผนการจัดการ 2564-2565 1) ชุดข้อมูลและฐานข้อมูลด้านทรัพยากรดิน-น้ำ
ทรัพยากรดินและน้ำ เพื่อ 2) มูลค่าของการบริการระบบนิเวศ และความสูญเสียทางเศรษฐศาสตร์
ควบคุมการเกิดตะกอนดินและ ของการเปลี่ยนแปลงการใช้ที่ดิน
บริหารน้ำในอ่างเก็บน้ำและพื้นที่ 3) คู่มือการจัดการคุณภาพน้ำ ตะกอนดิน
ลุ่มน้ำทั้งระบบ ให้เกิดประโยชน์ 4) แนวทางแก้ไข สำหรับสนับสนุนการบริหารจัดการทรัพยากรดินและน้ำ
ด้านเศรษฐกิจสังคม และ
สิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน
กรณีศึกษา ลุ่มน้ำสาขาห้วยกระเสียว
5. วิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์ 2561-2566 ผลิตภัณฑ์จุลินทรีย์ควบคุมไส้เดือนฝอยรากปม ช่วยลดการใช้สารเคมี
จุลินทรีย์ควบคุมไส้เดือนฝอย ควบคุมโรคพืช 30 เปอร์เซ็นต์
สาเหตุโรครากปมสำหรับพืชเศรษฐกิจ
6. วิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์ 2562-2566 ผลิตภัณฑ์แบคทีเรียสังเคราะห์แสงและไซยาโนแบคทีเรีย ส่งเสริมการ
แบคทีเรียสังเคราะห์แสงและไซ เจริญเติบโตและเพิ่มผลผลิตพืชอินทรีย์ ส่งผลให้ลดการใช้ปุ๋ยเคมี/สารเคมี
ยาโนแบคทีเรีย เพื่อเพิ่มธาตุ ทางการเกษตร 20 - 30 เปอร์เซ็นต์ และเพิ่มผลผลิตเศรษฐกิจพืช 20 - 30
อาหาร ส่งเสริมการเจริญเติบโต เปอร์เซ็นต์
กำจัดวัชพืช และเพิ่มผลผลิตพืช
ในระบบเกษตรอินทรีย์
- แผนพัฒนาเครือข่ายและความร่วมมือ
ปีที่
ชื่อแผนงาน/โครงการ ผลที่คาดว่าจะได้รับ
ดำเนินการ
1. เครือข่ายความร่วมมือภายในประเทศ
1.1 โครงการอบรมหมอดิน 2563-2564 ภาคีเครือข่ายหมอดินอาสาร่วมกันช่วยเหลือและสนับสนุนภารกิจประสาน
อาสา 4.0 เชื่อมโยงระหว่าง พด.กับเกษตรกรในระดับต่างๆ รวมทั้งถ่ายทอดความรู้
ประสบการณ์และเทคโนโลยีด้านการพัฒนาที่ดินแก่เกษตรในท้องถิ่น (จากหมอ
ดินอาสาทั่วประเทศ จำนวน 77,690คน ทำให้เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ จาก
โครงการฝึกอบรมใน 3 หลักสูตร ได้แก่ 1)หลักสูตร 1 (วันดินโลก) 2) หลักสูตร 2
(ฝึกปฏิบัติและเรียนรู้ ณ ศูนย์ฝึกปฏิบัติหมดดินอาสา) 3) หลักสูตร 3 (การพัฒนา
และใช้ประโยชน์จากถังความรู้หมอดินอาสาบนเว็บไซต์ของกรมพัฒนาที่ดิน)
1.2 โครงการแผนการใช้ที่ดิน 2562-2565 1) พื้นที่ได้รับการพัฒนาที่ดินตามความต้องการและแก้ปัญหาทางการเกษตร
ระดับตำบล ให้แก่เกษตรกร 2) เกษตรกรมีคุณภาพชีวิตที่ดีจากการใช้ประโยชน์ที่ดินที่
ถูกต้องและเหมาะสมกับสภาพพื้นที่ ทำให้ลดต้นทุนการผลิต และได้
ผลตอบแทนสูงขึ้น 3) มูลค่าภาคเกษตรกรรมปรับตัวสูงขึ้นจากการพัฒนาด้าน
เกษตร 4) แผนฯ มีหน่วยงานอื่นใช้เสนอของบประมาณในการจัดการ
ทรัพยากรที่ดิน และพัฒนาการเกษตร บนพื้นฐานทางวิชาการตามบริบทของ
ภูมิสังคมและการมีส่วนร่วมของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 5) เป็นแนวทางในการบริหาร
จัดการที่ดินและการผลิตสินค้าเกษตร ให้ชุมชนสามารถพึ่งพาตนเองได้อย่างยั่งยืน
สร้างความมั่นคง และภูมิคุ้มกันทางเศรษฐกิจ แก่เกษตรกรผู้ใช้ที่ดิน โดยใช้
หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
1.3 โครงการบริหารจัดการ 2559-2565 1) เกษตรกรปรับเปลี่ยนการผลิตในพื้นที่ไม่เหมาะสม เป็นการผลิตสินค้า
พื้นที่เกษตรกรรม (Zoning by การเกษตรชนิดใหม่ ที่เหมาะสมกับพื้นที่ ภูมิสังคมและความต้องการของตลาด
Agri-Map) 2) สร้างความมั่นคงทางอาชีพของเกษตรกร 3) มีการใช้ประโยชน์ที่ดิน
อย่างเหมาะสมตามศักยภาพของที่ดิน