Page 21 - รายงานผลการดำเนินการพัฒนาองค์การสู่ระบบราชการ 4.0 (PMQA 4.0) ประจำปี 2565 (Application Report 2022)
P. 21
ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
ปีที่
ชื่อแผนงาน/โครงการ ผลที่คาดว่าจะได้รับ
ดำเนินการ
งานวิจัยแห่งภูมิภาคเอเชีย (Asian Soil Information System: ASIS) ให้
สามารถเชื่อมโยงกับระบบฐานข้อมูลดินระดับโลก (Global Soil
Information System: GLOSIS) ของ FAO ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
4) โครงการความร่วมมือ 2565 พด. มีระบบบริการดินดี (ศาลาดินดี) เป็นฐานข้อมูลสารสนเทศเชิงพื้นที่
พัฒนาตำบล (SMART สำหรับวางแผนการใช้ที่ดินและให้ข้อมูลการจัดการดิน ในพื้นที่เกษตรราย
TAMBON) แปลง เพื่อใช้เป็นแนวทางการส่งเสริมให้เกิดการเพิ่มประสิทธิภาพการใช้
ที่ดินอย่างยั่งยืน ตามบริบทของแต่ละพื้นที่ และนำไปสู่การเพิ่ม
ผลตอบแทนต่อหน่วยพื้นที่ให้สูงขึ้น มีระบบเทคโนโลยีการพิมพ์ 3 มิติ
รองรับการปฏิบัติงานด้านสารสนเทศภูมิศาสตร์ของ พด. ซึ่งสามารถผลิต
แบบจำลองเสมือนจริง เพิ่มความชัดเจน ช่วยให้เจ้าหน้าที่สามารถวิเคราะห์
ตรวจสอบแผนที่ ได้ถูกต้อง แม่นยำ และรองรับการดำเนินงานด้านต่างๆ ที่
เกี่ยวกับภารกิจของ พด. ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
1.3 การบริหารจัดการโดยใช้เทคโนโลยีดิจิทัล
1) โครงการปรับปรุง 2563-2564 พด.มีระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์ที่ปฏิบัติงานได้ตามระเบียบสำนัก
ประสิทธิภาพระบบสารบรรณ นายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ พ.ศ. ๒๕๒๖ และที่แก้ไขเพิ่มเติม
อิเล็กทรอนิกส์ (e-Saraban) ทำงานในลักษณะ Web Application รองรับการทำงานบนเครื่อง
คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ Mobile Device (iOS, Android) สามารถรับ-
ส่งหนังสือ ราชการ ระหว่างหน่วยงานภายในกรม และรับ-ส่ง หนังสือได้ถึง
ตัวบุคคล รองรับการลงลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส์ (Digital Signature) ทำ
ให้ลดการใช้กระดาษ ลดภาระในการจัดเก็บหนังสือในรูปแบบกระดาษ
และสถานที่จัดเก็บเอกสาร
2) การพัฒนาโปรแกรม 2565 พด. พัฒนาระบบสำหรับเรียกดูใบรับรองการจ่ายเงินเดือนข้าราชการ
ใบรับรองการจ่ายเงินเดือน ลูกจ้างประจำ ค่าตอบแทนพนักงานราชการ ผ่านหน้าเว็บไซต์กรมพัฒนา
ที่ดิน เพื่อยกเลิกการใช้เอกสารใบรับรองเงินเดือนรูปแบบกระดาษเป็นการ
ปรับเปลี่ยน การพัฒนาสู่ระบบราชการ 4.0
3) ระบบสารสนเทศด้าน 2564 พด. มีระบบสารสนเทศด้านตรวจสอบภายใน เพื่อช่วยการจัดการข้อมูล
ตรวจสอบภายใน การตรวจสอบภายในให้เป็นระบบ สามารถจัดเก็บประมวลผล เรียกใช้
ข้อมูลและรายงานผลได้สะดวก รวดเร็ว ผู้บริหารสามารถใช้เป็นเครื่องมือ
ในการตัดสินใจ กำกับดูแล ติดตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ
- แผนพัฒนานวัตกรรม
ปีที่
ชื่อแผนงาน/โครงการ ผลที่คาดว่าจะได้รับ
ดำเนินการ
1. โครงการวิจัยและพัฒนา 2560-2564 ผลิตภัณฑ์แบคทีเรียเอนโดไฟท์ตรึงไนโตรเจน เชื้อราอาร์บัสคูลาร์ไมคอร์ไรซา
จุลินทรีย์ส่งเสริมการเจริญเติบโต และแอคติโนมัยซิสควบคุมโรคเพื่อใช้ในการส่งเสริมการเจริญเติบโต
เพิ่มผลผลิต และควบคุมโรคอ้อย ผลผลิต และควบคุมโรคของอ้อย ส่งผลให้สามารถลดการใช้ปุ๋ยเคมี/
สารเคมี 20 - 30 เปอร์เซ็นต์ และเพิ่มผลผลิตอ้อย 20-30 เปอร์เซ็นต์
2. วิจัยและพัฒนา 2564-2567 ผลิตภัณฑ์เชื้อราเอนโดไฟต์กระตุ้นการสร้าง jasmonic acid
เทคโนโลยีชีวภาพเพิ่มสารสำคัญ ผลิตภัณฑ์จุลินทรีย์ส่งเสริมการเจริญเติบโตของพืช (พีจีพีอาร์)
ลดการปนเปื้อนสารเคมีกำจัด ผลิตภัณฑ์จุลินทรีย์ย่อยสลายสารเคมีกำจัดแมลงกลุ่มออร์กาโนฟอสเฟตที่
ศัตรูพืชในสมุนไพร เพื่อผลิต ตกค้างในดิน ผลิตภัณฑ์ชีวภาพที่มีกรดอะมิโนสูงเพื่อเพิ่มสารสำคัญใน
สมุนไพรขมิ้นชัน และบัวบก ที่มี ขมิ้นชันและบัวบก
คุณภาพและปลอดภัย
3. วิจัยและพัฒนาจุลินทรีย์ 2564-2565 - ต้นแบบผลิตภัณฑ์จุลินทรีย์ผลิตภัณฑ์กลุ่มจุลินทรีย์สร้างสารเสริมการ
ส่งเสริมการเจริญเติบโตของพืช เจริญเติบโตของพืชทนแล้ง (PGPR)
ในสภาวะแห้งแล้ง