Page 17 - รายงานผลการดำเนินการพัฒนาองค์การสู่ระบบราชการ 4.0 (PMQA 4.0) ประจำปี 2565 (Application Report 2022)
P. 17

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน


    ผลผลิต/บริการหลัก : 1) ฐานข้อมูลทรัพยากรดินและที่ดิน (ข้อมูลดิน แผนที่ดิน   สภาพแวดล้อมการแข่งขัน : จากสภาพแวดล้อมการแข่งขันภายในประเทศในภารกิจงานที่มีลักษณะเดียวกัน พด.ได้ปรับรูปแบบการทำงานเชิง

 แผนการใช้ที่ดิน) 2) องค์ความรู้ด้านการพัฒนาที่ดิน (การวิเคราะห์สภาพพื้นที่และ  รุกพร้อมรับกับสถานการณ์ปัจจุบันที่เปลี่ยนแปลงไปด้วย 1) ห้องปฏิบัติการด้านการวิเคราะห์ดิน น้ำ พืช ปุ๋ยและวัสดุปรับปรุงดิน บริการชุด
    วางแผนการใช้ที่ดิน การจัดการดินและน้ำ เทคโนโลยีชีวภาพทางดิน และการ  ตรวจสอบดินภาคสนาม(LDD Test Kits) ผ่านเครือข่ายหมอดินอาสา และ ศพก. จำนวน 882 ศูนย์ ทั่วประเทศ 2) งานบริการด้านปัจจัยการผลิต


 อนุรักษ์ดินและน้ำ) 3) งานบริการด้านการพัฒนาที่ดิน (ปัจจัยการผลิต ผลิตภัณฑ์  ผลิตภัณฑ์จุลินทรีย์ซุปเปอร์ พด.และสารปรับปรุงบำรุงดิน ที่สามารถใช้ประโยชน์ครอบคลุมปัญหาทางการเกษตร เพิ่มความอุดมสมบูรณ์ของดิน
    จุลินทรีย์ และเทคโนโลยีการจัดการดิน) 4) โครงสร้างพื้นฐานด้านการพัฒนาที่ดิน   ธาตุอาหารและฮอร์โมนพืช ควบคุมศัตรูพืช รวมทั้งบำบัดน้ำเสีย โดยไม่เสียค่าใช้จ่าย 3) งานบริการด้านแผนที่ เช่น แผนที่ภาพถ่ายออร์โธ แผนที่

 (งานพัฒนาแหล่งน้ำและจัดระบบอนุรักษ์ดินและน้ำ)   ความสูงภูมิประเทศ แผนที่การใช้ที่ดิน ที่มีความละเอียดถูกต้องและแม่นยำ การแข่งขันภายนอกประเทศ ด้านแผนที่ดิน พด.มีการจัดทำแผนที่
    คุณลักษณะโดดเด่นของผลผลิต/บริการ : 1) แผนการใช้ที่ดินที่เกิดจากการ  ที่มีความละเอียดระดับมาตราส่วน 1: 25000 ครอบคลุมทั้งประเทศ มีพิพิธภัณฑ์ดินที่แสดงข้อมูลสอดคล้องกับสภาพพื้นที่ของแต่ละภูมิภาค


 เชื่อมโยงข้อมูลทั้งด้านดิน น้ำ พืช ป่าไม้ เศรษฐกิจ  สังคม และสิ่งแวดล้อม ผ่านการ  ตั้งอยู่ครอบคลุมทั้งประเทศ และการจัดทำแผนที่ดินระดับชาติ ตามมาตรฐานสากล (WRB และ Taxonomy) เมื่อเปรียบเทียบประเทศในภูมิภาค
    เอเชีย ยุโรป และสหรัฐอเมริกา
 ประชาพิจารณ์จากเกษตรกร ชุมชน และผู้เกี่ยวข้องทุกภาคส่วน วิเคราะห์และ

    ประมวลผลโดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและภูมิสารสนเทศ สามารถนำไปใช้  ความได้เปรียบเชิงยุทธศาสตร์ : (ด้านพันธกิจ ปฏิบัติการ บุคลากร สังคม) ด้านพันธกิจ : ภายในประเทศ : 1) ยุทธศาสตร์ชาติที่ให้ความสำคัญกับ

 ประโยชน์ในการวางแผนพัฒนาทุกระดับตั้งแต่ระดับประเทศ จังหวัด และตำบล   การบริหารจัดการทรัพยากรพื้นฐานทางการผลิตภาคเกษตร 2) แผนปฏิรูปประเทศด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 3) มีแผนแม่บทด้าน
   รวมทั้งวางแผนการใช้ที่ดินรายชนิดพืชเศรษฐกิจและลุ่มน้ำ 2) เทคโนโลยีการจัดการ  การเกษตรและแผนแม่บทด้านการบริหารจัดการน้ำ 4) นโยบายในการแก้ปัญหาผลกระทบจากสถานการณ์โควิดในภาคการเกษตร(โครงการ 1 ตำบล

 ดินและน้ำที่มีความหลากหลายและครอบคลุมทุกสภาพดิน สามารถนำไปบริหาร  1 กลุ่มเกษตรทฤษฎีใหม่) ภายนอกประเทศ : 1) นโยบายในระดับโลกด้านระบบอาหารที่ยั่งยืนเน้นความสำคัญของการจัดการดินที่ส่งผลต่อการผลิต
    จัดการทรัพยากรดินได้แบบเฉพาะเจาะจงและตรงจุด 3) การบริการตรวจสุขภาพดิน  ด้านการเกษตร 2) การเป็นเจ้าภาพหลักในการบริหารศูนย์ประสานงานความร่วมมือระดับนานาชาติ (CESRA, UNCCD)   ด้านปฏิบัติการ: 1) ระบบ


 เชิงรุกให้คำแนะนำการจัดการดิน น้ำ พืช ได้หลากหลายรูปแบบ ตามความต้องการ  เทคโนโลยีสารสนเทศพัฒนาที่ดินที่ทันสมัยสนับสนุนการปฏิบัติงาน และพัฒนารูปแบบกระบวนการทำงานให้ทันต่อการเปลี่ยนผ่านสู่ Digital
 Transformation และ พัฒนาองค์การสู่ระบบราชการ 4.0 2) นำเทคโนโลยีดิจิทัลพัฒนาบริการในลักษณะ Web Application และ Mobile

 ใช้ประโยชน์ของเกษตรกรและประชาชนทั่วไป ได้แก่ การบริการให้ข้อมูลดิน  Application เพื่อให้ข้อมูลแก่ประชาชนด้านการพัฒนาที่ดิน 3) เครือข่ายหมอดินอาสาครอบคลุมทุกจังหวัด อำเภอ ตำบล และหมู่บ้าน และมีความรู้

    เบื้องต้นผ่านบัตรดินดี หรือผ่านแอปพลิเคชันดินออนไลน์ การวิเคราะห์ดินอย่าง  และทักษะสูงที่ช่วยขับเคลื่อนกระบวนการทำงานของ พด. ที่กระจายครอบคลุมทั่วประเทศ 4) การรับรองมาตรฐานเกษตรอินทรีย์แบบมีส่วนร่วม(PGS)
 ด้านบุคลากร : 1) ผู้บริหารมีการกำหนดทิศทางการขับเคลื่อนงานที่สอดคล้องกับสถานการณ์ปัจจุบัน  2) บุคลากรมีความเชี่ยวชาญด้านสำรวจ
 ง่ายโดยใช้ชุดตรวจสอบดินภาคสนาม (LDD Test Kit) หรือบริการวิเคราะห์ดินอย่าง  จำแนกดิน วิเคราะห์ดิน วางแผนการใช้ที่ดิน เทคโนโลยีชีวภาพทางดิน ด้านสังคม : 1) การทำเกษตรที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม (Green City) สร้าง

    ละเอียดในระดับห้องปฏิบัติการที่ได้มาตรฐานเพื่อนำไปใช้ในงานที่ต้องการผล  ความเชื่อมั่นให้กับเกษตรกรและประชาชนบริโภคอาหารปลอดภัย 2) การปรับเปลี่ยนการผลิตสินค้าเกษตรให้สอดคล้องกับความต้องการของเกษตรกร

 แม่นยำ เช่น การวางแผน หรืองานวิจัย เป็นต้น นอกจากนี้ยังสนับสนุนปัจจัยการ  และเน้นการมีส่วนร่วมให้เกิดการยอมรับแนวทางการผลิตที่เหมาะสมกับศักยภาพของที่ดินอย่างยั่งยืน 3) เกษตรกรได้รับความช่วยเหลือและแก้ปัญหา

   ผลิตและจัดทำแปลงสาธิตเป็นแปลงต้นแบบตามคำแนะนำการจัดการดิน น้ำ พืช   การเคลื่อนย้ายแรงงานที่ได้รับผลกระทบจากสถานการณ์โควิด-19 และภัยพิบัติทางการเกษตรจากกิจกรรมของกรม
 เพื่อให้เกษตรกรและประชาชนทั่วไปเข้ามาศึกษาและเรียนรู้ สามารถนำไปปฏิบัติ
    ในพื้นที่ของตนเองได้จริง   ความท้าทายเชิงยุทธศาสตร์: (ด้านพันธกิจ ปฏิบัติการ บุคลากร สังคม) ด้านพันธกิจ : 1) การจัดเก็บข้อมูลตัวชี้วัดเพื่อสนับสนุนการขับเคลื่อนเป้าหมาย
 SDGs2 การขจัดความหิวโหย SDGs 15.3 การหยุดยั้งความเสื่อมโทรมของที่ดิน และ SDGs 13 การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและเป้าหมายลดการ

    ปล่อยก๊าซเรือนกระจก(COP 26) 2) แผนแม่บทด้านการเกษตรที่มุ่งเน้นการผลิตสินค้าเกษตรมูลค่าสูง 3) การจัดเก็บข้อมูลตัวชี้วัดเพื่อสนับสนุนการ
 ผู้รับบริการ : 1) เกษตรกร 2) หน่วยงานภาครัฐ 3) ภาคเอกชนและประชาชน        ป้องกันการพังทลายของดินภายใต้แผนแม่บทด้านการบริหารจัดการน้ำ 4) การนำกรอบแผนพัฒนาเศษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 13 มาจัดทำ

    4) สถาบันการศึกษา    แผนปฏิบัติราชการให้เชื่อมโยงและสอดคล้องกัน 5) การนำนโยบาย BCG Model ภาคการเกษตรมาใช้ในการจัดทำแผนงานโครงการสนับสนุน 6)
 ความต้องการ : 1) เกษตรกร ต้องการข้อมูลที่ถูกต้องทันสมัยใช้งานง่าย นำไปใช้ได้  การบูรณาการการทำงานกับหน่วยงานที่กำกับนโยบายและแผนบริหารจัดการที่ดินและทรัพยากรดินของประเทศ 7) นโยบายสำคัญและเร่งด่วนของ

    จริงในระดับพื้นที่ ปัจจัยการผลิตทางการเกษตร โครงสร้างพื้นฐานด้านการพัฒนา  กระทรวงเกษตรและสหกรณ์  ด้านปฏิบัติการ: 1) ความพร้อมของระบบเทคโนโลยีสารสนเทศพัฒนาที่ดินที่สามารถรองรับสนับสนุนการปฏิบัติงาน  2) การ
 ที่ดิน ที่สามารถแก้ไขปัญหาดินเสื่อมโทรม ภัยพิบัติทางการเกษตร(ภัยแล้ง/น้ำท่วม)   เปลี่ยนรูปแบบการปฏิบัติงานเป็นแบบปฏิบัติงานนอกสถานที่ตั้ง(WFH)  3) การยกระดับหมอดินอาสาให้เป็น Smart Farmer  4) การปรับแผนการ

    ลดความเสี่ยงจากการผลิตทางการเกษตร  และสามารถเพิ่มศักยภาพการผลิตใน  ปฏิบัติงานให้สอดคล้องกับสถานการณ์ที่เน้นการทำงานเชิงรุก 5) นำเทคโนโลยีดิจิทัลมาใช้ในการติดตามการดำเนินงานแบบ Real time 6) การพัฒนา
 การเกษตร ลดต้นทุนการผลิตและสร้างรายได้ มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น 2) หน่วยงาน  งานบริการโดยใช้เทคโนโลยีดิจิทัลที่เข้าถึงง่าย และนำไปใช้ได้จริง ด้านบุคลากร : 1) การพัฒนาบุคลากรให้มีทักษะด้านเทคโนโลยีดิจิทัลและสห

    ภาครัฐ ภาคเอกชนและประชาชน สถาบันการศึกษาและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย   วิทยาการเพื่อรองรับระบบบราชการ 4.0 2) การส่งเสริมให้บุคลากรมีแนวความคิดสร้างสรรค์เชิงนวัตกรรม(Innovative Thinking) 3) การพัฒนาคน
 ต้องการข้อมูล องค์ความรู้ เทคโนโลยีการจัดการดินที่ถูกต้อง ทันสมัย สามารถ  รุ่นใหม่ให้มีทักษะและประสบการณ์เพื่อทดแทนบุคลากรที่เกษียณอายุราชการ 4) การพัฒนาบุคลากรให้รองรับการทำงานระดับสากล  ด้านสังคม : 1) การ

    นำไปใช้ในการพัฒนาโครงการ/วิจัย เพื่อแก้ปัญหาให้สอดคล้องกับสภาพพื้นที่ได้  ยอมรับองค์ความรู้จากหน่วยงานราชการของเกษตรกร เนื่องจากเกษตรกรมีช่องทางในการสืบค้นความรู้ที่หลากหลาย 2) การสร้างความตระหนักให้เกษตรกรใช้

 อย่างมีประสิทธิภาพ รวมทั้งสนับสนุนนโยบายในระดับกระทรวง   ทรัพยากรดินและที่ดินให้เกิดประโยชน์สูงสุด 3) การบูรณาการกับหน่วยงานทั้งภาครัฐ เอกชน ท้องถิ่น และประชาสังคม
   12   13   14   15   16   17   18   19   20   21   22