Page 60 - การใช้เทคโนโลยีการสำรวจระยะไกลเพื่อศึกษารูปแบบการเพาะปลูกพืชเศรษฐกิจ Using of remote sensing for economic crops growth pattern study
P. 60

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                                                           49







                       อาการผิดปกติของพืชไดในช่วงคลื่นที่มีความยาวสูงกว่า 1.3 ไมโครเมตร พลังงานส่วนใหญ่จะถูกดูดกลืน
                       หรือสะท้อนมีการส่งผ่านพลังงานน้อยมาก มักพบค่าต่ าลงที่ช่วงคลื่น 1.4 1.9 และ 2.7 ไมโครเมตร
                       เพราะว่าในช่วงเหล่านี น  าในใบพืชจะดูดกลืนพลังงาน จึงเรียกว่า ช่วงคลื่นดูดกลืนน้า (Water absorption
                       bands) ดังนั นค่าการสะท้อนพลังงานของใบพืชจึงแปรผกผันกับปริมาณน  าในใบพืชด้วย (Gates et al., 1965)

                                        ลายเซ็นเชิงคลื่นของของดิน ปัจจัยหลักที่มีผลต่อการสะท้อนพลังงานของดิน คือ
                       ความชื นในดิน ปริมาณอินทรียวัตถุ เนื อดินปริมาณเหล็กออกไซด์ และความขรุขระของผิวดิน ปัจจัย
                       ดังกล่าวมีความซับซ้อน และสัมพันธ์ซึ่งกันและกัน เช่น ลักษณะเนื อดิน มีความสัมพันธ์กับปริมาณน  าใน
                       ดิน ดินทรายหยาบมีการระบายน  าดีจะสะท้อนพลังงานสูง ดินละเอียดมีการระบายน้าไม่ดีหรือระบายได้

                       น้อยจะสะท้อนพลังงานต่ า ดินที่มีอินทรียวัตถุสูงจะมีสีคล  าดูดกลืนพลังงานสูงในช่วงคลื่นสายตามองเห็น
                       เช่นเดียวกับดินที่มีเหล็กออกไซด์ในปริมาณสูง จะปรากฏเป็นสีเข้ม เนื่องจากการสะท้อนพลังงานลดลง
                       ความขรุขระของผิวดินมากก็จะท าให้การสะท้อนของพลังงานลดลงเช่นเดียวกัน เป็นต้น
                                        ลายเซ็นเชิงคลื่นของของน  า โดยทั่วไปน้ามีคุณสมบัติดูดกลืนพลังงาน น  ามีหลาย

                       ประเภทซึ่งจะทาให้การดูดกลืนพลังงานแตกต่างกันไป การสะท้อนพลังงานของน  ามีลักษณะต่างจากวัตถุ
                       อื่นอย่างชัดเจน โดยเฉพาะในช่วงคลื่นอินฟราเรด น  าจะดูดกลืนพลังงานอย่างสมบูรณทาให้สามารถเขียน
                       ขอบเขตของน  าได เนื่องจากน  าที่ปรากฏอยู่บนผิวโลกมีหลายสภาพด้วยกัน เช่น น  าขุ่น น  าใสหรือน  าที่มี

                       สารแขวนลอยต่างๆ เจือปน ดังนั นการสะท้อนพลังงานจึงแตกต่างกันออกไป บางครั งพื นที่ที่รองรับน  าอาจ
                       มีผลต่อการสะท้อนพลังงานของน  า น  าใสจะดูดกลืนพลังงานเล็กน้อยที่ช่วงคลื่นต่ ากว่า 0.6 ไมโครเมตร
                       การส่งผ่านพลังงานเกิดขึ นสูงในช่วงคลื่นแสงสีน  าเงิน เขียว แต่น  าที่มีตะกอนหรือมีสิ่งเจือปน การสะท้อน
                       และการส่งผ่านพลังงานจะเปลี่ยนไป เช่น น  าที่มีตะกอนดินแขวนลอยอยู่มาก จะสะท้อนพลังงานได
                       มากกว่าน  าใส ถ้ามีสารคลอโรฟิลล์ในน  ามากขึ นการสะท้อนช่วงคลื่นสีน  าเงินจะลดลงและจะเพิ่มในช่วง

                       คลื่นสีเขียว ซึ่งอาจใช้เป็นประโยชนในการติดตามและคาดคะเนปริมาณสาหร่ายนอกจากนี ข้อมูลการ
                       สะท้อนพลังงานยังเป็นประโยชนในการส ารวจคราบน  ามัน และมลพิษจากโรงงานได
                                        จากคุณสมบัติการสะท้อนและดูดซับพลังงานที่แตกต่างกันในแต่ละช่วงคลื่นของพืช

                       จึงไดมีการน าข้อมูลจากการส ารวจจากระยะไกลที่น ามาประยุกต์ใช้ในการศึกษาดานการเกษตรกรรม
                       เช่น  การจ าแนกประเภทพืชที่เพาะปลูก การเกษตรแบบแม่นย า และการจัดการพืชที่เพาะปลูก
                       โดยทั่วไปแลวประมาณร้อยละ  10-30 ของพลังงานแสงที่ตกกระทบกับพื นผิวใบจะถูกสะท้อนออกมา
                       ในช่วงคลื่นที่เรามองเห็นได คือ ชวงคลื่นแสงสีเขียว สวนในชวงคลื่นที่เราไมสามารถมองเห็นได ใบพืชจะ

                       สะท้อนพลังงานในชวงคลื่นอินฟราเรดใกลออกมามากที่สุด พืชที่มีความอุดมสมบูรณหรือไมนั นจะสังเกต
                       ไดจากการสะทอนพลังงานในชวงคลื่นอินฟราเรดใกล ดังนั นการสะทอนพลังงานในแตละชวงคลื่นของพืช
                       จะมีลักษณะแตกต่างกันออกไปตามลักษณะโครงสรางและปริมาณคลอโรฟลลในใบพืช

                       3.3 การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีส ารวจระยะไกลเพื่อศึกษาการเจริญเติบโตของพืช
                               ปัจจุบันได้มีการน าเทคโนโลยีการส ารวจขอมูลระยะไกลมาประยุกต์ใช้เพื่อศึกษาการ

                       เจริญเติบโตของพืชเพิ่มมากขึ น โดยใช้ความแตกตางของค่าการสะทอนและการดูดซับพลังงานของพืช
   55   56   57   58   59   60   61   62   63   64   65