Page 58 - การใช้เทคโนโลยีการสำรวจระยะไกลเพื่อศึกษารูปแบบการเพาะปลูกพืชเศรษฐกิจ Using of remote sensing for economic crops growth pattern study
P. 58

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                                                           47







                       จ าเป็นต้องพิจารณาถึงขั นตอนการผลิตพืชทั งหมด ตั งแต่การปรับปรุงพันธุ์เพื่อให้ปรับให้เข้ากับ
                       สภาพแวดล้อมเฉพาะ ไปจนถึงการปรับปรุงการจัดการที่ดินเพื่อการเกษตร สิ่งส าคัญของความพยายาม
                       เหล่านี คือการประเมินเชิงปริมาณของลักษณะของพืชที่เอื อต่อการผลิตที่เพิ่มขึ น และการใช้ทรัพยากร
                       อย่างมีประสิทธิภาพ ในช่วงทศวรรษที่ผ่านมามีการใช้เทคโนโลยีการส ารวจระยะไกลในการศึกษาด้าน

                       ชีพลักษณ์พืชเพิ่มมากขึ น ซึ่งเดิมการศึกษาดังกล่าวได้จากการส ารวจภาคสนาม แต่ท าได้ช้าและต้องใช้
                       งบประมาณสูง การวิเคราะห์ข้อมูลจากการส ารวจระยะไกลอาจช่วยให้การท างานได้เร็วขึ นและประหยัด
                       ค่าใช้จ่าย (Machwitz et. al., 2021) การน าเทคโนโลยีการส ารวจข้อมูลระยะไกลมาประยุกต์ ใช้ใน
                       การศึกษาเกี่ยวกับปรากฏการณธรรมชาติมีมากขึ นเรื่อยๆ ทั งการส ารวจระดับพื นดิน (Ground based)

                       ระดับอากาศ (Aerial based) และระดับอวกาศ (Satellite based) (Liaghat and Balasundram,
                       2010) ซึ่งการส ารวจในแต่ละระดับของการส ารวจมีข้อดีและข้อเสียที่แตกต่างกัน เช่น ค่าใช้จ่าย ขนาด
                       พื นที่ในการจัดเก็บข้อมูล ข้อจ ากัดของสภาพอากาศ และเวลาที่ใช้ในการจัดเก็บข้อมูล การส ารวจหรือ
                       การจัดเก็บข้อมูลระดับพื นดิน มีการใช้อยู่อย่างแพร่หลายเนื่องจากการพัฒนาเซ็นเซอร์อย่างต่อเนื่อง

                       active-light remote sensing devices หรือ on-the-go proximal system สามารถจัดเตรียม
                       ข้อมูลได้อย่างรวดเร็ว และใช้ประโยชน์ได้ทันที (real time) เนื่องจากข้อมูลที่ไดมานั นมีความต่อเนื่อง
                       ถูกตอง และรวดเร็ว ท าให้สามารถติดตามสถานการณตางๆ  ที่เกิดขึ นบนพื นผิวโลกไดอย่างต่อเนื่อง

                       เช่น  การพยากรณอากาศ การติดตามความเปลี่ยนแปลงของทรัพยากรธรรมชาติ  ป่าไม้ การใช้ที่ดิน
                       การติดตามข้อมูลเกี่ยวกับการเกษตร เป็นต้นการรับรู้จากระยะไกล (Remote Sensing, RS) หมายถึง
                       การได้มาของข้อมูล (Data acquisition) โดยใช้อุปกรณ์ตรวจวัดที่อยู่ไกลออกไป และท าการสกัด
                       สารสนเทศ (Information extraction) ต่างๆ จากข้อมูลที่ได้มาจากการตรวจวัดเพื่อท าการวิเคราะห์
                       และประมวลผล ซึ่งองค์ประกอบทั งสองส่วนนี มีกระบวนการเริ่มจากการส่งพลังงานจากแหล่งพลังงาน

                       เพื่อให้ได้มาซึ่งข้อมูล การสกัดสารสนเทศต่างๆ ออกมาจากข้อมูลที่ได้จากการตรวจวัดไปจนถึงการน า
                       ข้อมูลไปช่วยสนับสนุนการตัดสินใจในเรื่องต่างๆ การได้มาของข้อมูล ประกอบด้วย แหล่งพลังงาน
                       ปฏิสัมพันธ์ของพลังงานกับวัตถุต่างๆ บนผิวโลกระบบการตรวจวัดข้อมูล และการบันทึกข้อมูล

                       (Jensen, 2000; อมร, 2558) เทคโนโลยีส ารวจระยะไกลอาศัยการจัดเก็บข้อมูลโดยใช้เซ็นเซอร์รับคลื่น
                       แม่เหล็กไฟฟ้าที่พืชสะท้อนกลับ และสามารถจัดท าเป็นแผนที่ระดับแปลง
                               การส ารวจข้อมูลระยะไกลใช้หลักการสะท้อนพลังงานของวัตถุ โดยวัตถุแต่ละชนิดจะสะท้อน
                       พลังงานออกมาในช่วงคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่แตกต่างกัน  การส ารวจข้อมูลจากระยะไกลไดน าหลักการ

                       สะท้อนและดูดซับพลังงานในแต่ละช่วงคลื่นของวัตถุมาประยุกต์ใช้ ซึ่งวัตถุแต่ละชนิดจะมีค่าการสะท้อน
                       พลังงานที่แตกต่างกันออกไป โดยพืชพรรณธรรมชาติสะท้อนพลังงานไดดีในช่วงคลื่นอินฟราเรดใกล้
                       (Near  Infrared  Wavelenghts)  (700  –  1,300  นาโนเมตร)  และในช่วงคลื่นที่มองเห็นไดจะ
                       สะท้อนพลังงานช่วงคลื่นแสงสีเขียว  (500  –  600  นาโนเมตร)  สวนการสะท้อนพลังงานของดินจะ

                       ขึ นอยู่ขึ นกับปัจจัยบางประการในดิน เช่น ความชื นในดิน แรธาตุในดิน เป็นต้น และน  าจะไมมีการ
                       สะท้อน พลังงานในช่วงคลื่นอินฟราเรดใกล้  พืชพรรณ ดิน และน  า เป็นวัตถุปกคลุมผิวโลกเป็นส่วนใหญ่
   53   54   55   56   57   58   59   60   61   62   63