Page 17 - คู่มือการจัดทำเป้าหมายตัวชี้วัดความสมดุลของการจัดการทรัพยากรที่ดิน (Land Degradation Neutrality: LDN) ระดับพื้นที่
P. 17

11

























                             ภำพที่ 2 สัดส่วนของพื้นที่เสื่อมโทรม ในระดับโลก ตำมเป้ำหมำยที่ 15.3.1

               ที่มำ : UNCCD (2021b)


               2.5 กำรจัดท ำเป้ำหมำยตัวชี้วัดของกำรจัดกำรทรัพยำกรที่ดิน (Land Degradation
               Neutrality: LDN baseline) ระดับประเทศ

                      ปี พ.ศ. 2558 อนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการต่อต้านการแปรสภาพเป็นทะเลทราย โดยกรม
               พัฒนาที่ดิน ได้ด าเนินการจัดท าเป้าหมายตัวชี้วัดของการจัดการทรัพยากรที่ดิน (Land  Degradation
               Neutrality:  LDN  baseline)  ของประเทศไทย ซึ่งก าหนดตัวชี้วัด 3 ตัวในการค านวณพื้นที่ได้รับผลกระทบ

               (Sim  et  al,  2017) ได้แก่ ตัวชี้วัดการเปลี่ยนแปลงการใช้ที่ดิน ตัวชี้วัดผลิตภาพที่ดิน และตัวชี้วัดคาร์บอนในดิน
               ซึ่งตัวชี้วัดดังกล่าวนอกจากจะใช้ในการจัดท าข้อมูลเส้นฐานอ้างอิงแล้ว ยังเป็นตัวชี้วัดที่ใช้ติดตามผลการด าเนินงาน
               ตลอดระยะเวลาเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน ซึ่งประเทศไทยได้จัดท าข้อมูลเส้นฐานอ้างอิงไว้ (ภาพที่ 3) ดังนี้

                              1) ตัวชี้วัดสิ่งปกคลุมที่ดินและการเปลี่ยนแปลงการใช้ที่ดิน (land  cover  and  land  use
               change  :  LUC)  น าข้อมูลการใช้ที่ดินของกรมพัฒนาที่ดินในช่วงเวลาปี 2545 และปี 2556 มาวิเคราะห์
               ประเภทการใช้ที่ดินตามระบบของ FAO  ได้ 6 ประเภทคือ 1)  ป่าไม้ 2)  ไม้พุ่ม ทุ่งหญ้าและป่าละเมาะ 3)  พื้นที่
               เกษตร 4)  พื้นที่ชุ่มน้ า และพื้นที่แหล่งน้ า 5)  พื้นที่สิ่งปลูกสร้าง และ6)  พื้นที่ว่างเปล่า ซึ่งการวิเคราะห์การ

               เปลี่ยนแปลงของการใช้ที่ดินในช่วงเวลาดังกล่าวจะท าให้ทราบแนวโน้มของความเสื่อมโทรมของที่ดินที่เกิดขึ้น
               โดยพบว่าพื้นที่ป่าไม้ลดลง 9,074 ตารางกิโลเมตร หรือร้อยละ 4.88 ของพื้นที่ทั้งหมด ขณะที่พื้นที่ไม้พุ่ม พื้นที่
               ทุ่งหญ้าและป่าละเมาะเพิ่มขึ้น 1,791 ตารางกิโลเมตร หรือ ร้อยละ 12.25 พื้นที่ท าการเกษตรลดลง 268,809
               ตารางกิโลเมตร หรือร้อยละ 4.07 ส าหรับพื้นที่ชุ่มน้ าและพื้นที่แหล่งน้ า และพื้นที่สิ่งปลูกสร้าง เพิ่มขึ้น 8,740

               และ 9,138 ตารางกิโลเมตร เนื่องจากการพัฒนาชุมชนเมืองและสิ่งก่อสร้าง ส าหรับพื้นที่ว่างเปล่าเพิ่มขึ้น 820
               ตารางกิโลเมตร
   12   13   14   15   16   17   18   19   20   21   22