Page 29 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดสุโขทัย
P. 29

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                               22








                       3. พืชเศรษฐกิจอนาคตไกลของจังหวัด

                         3.1  สมแมสิน (GI) หมายถึง สมพันธุสมเขียวหวานผลคอนขางกลมแปนเล็กนอย เนื้อในผลมี
                       สีสมอมทอง รสชาติหวานอมเปรี้ยว เนื้อแนน ผนังกลีบบาง ถุงสมนิ่ม สีเปลือกขึ้นอยูกับฤดูกาล ไดแก

                       ฤดูหนาวสีทอง ฤดูรอนสีน้ําตาลมีกระ และฤดูฝนสีเขียวปนสีน้ําตาล โดยปลูกในพื้นที่ตําบลแมสิน และ
                       ตําบลแมสํา อําเภอศรีสัชนาลัย จังหวัดสุโขทัย ลักษณะภูมิประเทศเปนพื้นที่ภูเขาสลับลําหวย ที่ลาดเชิง

                       เขา มีที่ราบลุมและที่ดอนขนาดเล็กสลับกันไป มีความชันปานกลางถึงชันมาก สูง 300 – 700 เมตร
                       จากระดับน้ําทะเลปานกลาง มีแมน้ํายม ไหลผานกลางตําบล ดินสวนใหญเกิดจากหินตะกอนและหินแปร

                       ชั้นลางเปนหินกรดมนสลับกับหินปูน ชั้นบางและ หินเชิรตชั้นบาง สลับชั้นกับหินโคลน บริเวณที่ลาดเชิงเขา
                       และที่ลาดลอนคลื่นอาจพบตะกอน เศษหินเชิงเขาและตะกอนผุพังตามเชิงเขา หรือขอบแอง และบางแหงมี
                       หินอัคนีที่เกิดจากหินภูเขาไฟ ชนิดหินบะซอลต ดินที่ผุพังมาจากหินภูเขาไฟ จะอุดมสมบูรณดวย

                       แรธาตุที่ เปนตอพืช เมื่อเกิดการชะลางลงมายังเชิงเขา ประกอบกับมีแหลงน้ําพุรอนริมตลิ่งแมน้ํายม
                       ทําใหดินมีแรกํามะถัน สงผลให สมแมสินมีรสชาติเปนเอกลักษณ รสหวานอมเปรี้ยว เมื่อสุกแลว

                       มีรสชาติหวานฉ่ําเขมขน เนื้อในมี สีสมอมทอง ประกอบกับตําบลแมสินและตําบลแมสํา อยูติดกับปาไม
                       ที่อุดมสมบูรณและเปนพื้นที่ปาเพื่อการอนุรักษมีความหลากหลายของปา จึงทําใหอุณหภูมิ ต่ํากวา

                       พื้นที่โดยรอบ อากาศเย็นและเหมาะสําหรับการเจริญเติบโตและใหผลผลิตของสม การเปลี่ยนแปลง
                       ของอุณหภูมิสูงสุด ต่ําสุด และปริมาณน้ําฝน ทําใหสีเปลือกของสมแมสินในแตละฤดูมีสีที่แตกตางกัน

                         3.2  มะมวง เปนไมผลที่นิยมปลูกกันแพรหลายเพราะเปนพืชที่ปลูกงาย สามารถเจริญเติบโตได

                       ในดินเกือบทุกชนิด ทนตออากาศรอนไดดี จึงเปนผลไมที่มีความสําคัญ ทางเศรษฐกิจชนิดหนึ่งของไทย
                       เนื่องจากสามารถบริโภคไดทั้งดิบและสุก รสชาติอรอย มีกลิ่นหอม และสามารถแปรรูปเก็บไวสําหรับ

                       จําหนายหรือรับประทานนอกฤดู ดังนั้นจึงมีการปลูกกันอยางแพรหลายในจังหวัดสุโขทัยและ
                       มีการสงเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญโดยเฉพาะมะมวงโชคอนันต โดยมีพื้นที่ปลูกมะมวงอยูในทุก

                       อําเภอของจังหวัดโดยเฉพาะในอําเภอสวรรคโลก อําเภอศรีนคร อําเภอศรีสัชนาลัย อําเภอทุงเสลี่ยม
                       อําเภอศรีสําโรง เปนตน

                         3.3  ละมุด เปนพืชที่มีวิตามินซีสูงจึงชวยเสริมภูมิคุมกันโรคและชวยปองกันหวัดได เมล็ดใชเปน

                       ยาบํารุงกําลังการรับประทานละมุด จะชวยทําใหรูสึกสดชื่น กระปรี้กระเปรา เปลือกของลําตนละมุด
                       นํามาตมปรุงเปนยาแกบิด ยางใชเปนยาถายพยาธิชนิดรุนแรง ละมุดเปนผลไมที่มีเสนใยมาก จึงชวย

                       ในการขับถายและปองกันอาการทองผูกไดเปนอยางดี และยังชวยปองกันการเกิดโรคมะเร็งลําไสอีก
                       ดวย ใชรับประทานเปนผลไมทําไวน หรือ นํามาทําน้ําละมุด ยางที่มีสีขาวทุกสวนของลําตนสามารถ

                       นําไปใชทําหมากฝรั่งและรองเทาบูทได เกษตรกรจังหวัดสุโขทัยนิยมปลูกละมุดหลากหลายสายพันธุ
                       เชน พันธุมะกอก พันธุตาขวัญ พันธุไขหาน เปนตน โดยเฉพาะ ละมุดทาทอง นับเปนหนึ่งในความ

                       ภาคภูมิใจของชาวบานตําบลทาทอง อําเภอสวรรคโลก จังหวัดสุโขทัย มาตั้งแตสมัยอดีต ดั่งคําขวัญ
                       ประจําตําบลทาทอง ที่วา “ถิ่นละมุดสุดหวาน” ละมุดทาทอง มีจุดเดนในเรื่อง รสชาติหวานอรอย มี
   24   25   26   27   28   29   30   31   32   33   34