Page 24 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดสุโขทัย
P. 24
ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
17
ตารางที่ 8 พื้นที่มีศักยภาพในการขยายการผลิตมันสําปะหลัง
ขาว (ไร) ยางพารา (ไร)
อําเภอ
S3 N รวม S3 N รวม
คีรีมาศ 4,013 - 4,013 196 - 196
ทุงเสลี่ยม 2,581 146 2,727 1,211 - 1,211
บานดานลานหอย 18,811 142 18,953 207 - 207
เมืองสุโขทัย 965 - 965 110 - 110
ศรีนคร 22 - 22 60 - 60
ศรีสัชนาลัย 8,496 193 8,689 1,651 - 1,651
ศรีสําโรง 4,417 - 4,417 363 - 363
สวรรคโลก 4,627 - 4,627 105 - 105
รวม 43,932 481 44,413 3,903 - 3,903
4) แนวทางการจัดการ
(1) พื้นที่ที่มีความเหมาะสมควรสงเสริมการผลิต (S1 หรือ S2) ควรสนับสนุนให
เกษตรกรปลูกมันสําปะหลังตอไปเนื่องจากเปนพื้นที่ที่เหมาะสม สามารถชวยลดตนทุนการผลิตและ
ไดผลผลิตที่มีคุณภาพดี ซึ่งการปลูกมันสําปะหลังในพื้นที่ดังกลาวขางตนสามารถนําไปสูการตอยอด
โครงการที่สําคัญตาง ๆ ได เชน เกษตรอินทรีย เกษตรแปลงใหญ เกษตรแมนยํา เปนตน
พื้นที่ปลูกมันสําปะหลังในบริเวณที่มีความเหมาะสมสูง (S1) คือพื้นที่ปลูกมัน
สําปะหลังในที่ดินที่ไมมีขอจํากัดทางกายภาพตอการปลูกมันสําปะหลังซึ่งควรสงวนไวเปนแหลงปลูก
มันสําปะหลังที่สําคัญของจังหวัด โดยกระจายอยูในอําเภอบานดานลานหอย อําเภอคีรีมาศ และ
อําเภอศรีสัชนาลัย
พื้นที่ปลูกมันสําปะหลังในบริเวณที่มีความเหมาะสมปานกลาง (S2) คือพื้นที่ปลูก
มันสําปะหลังในที่ดินที่มีขอจํากัดทางกายภาพบางประการตอการปลูกมันสําปะหลัง เชน ความอุดมสมบูรณ
ของดิน ความเปนกรดเปนดาง ความชื้น โดยกระจายอยูในอําเภอบานดานลานหอย อําเภอทุงเสลี่ยม
และอําเภอศรีสําโรง
(2) พื้นที่ที่ควรปรับเปลี่ยนการผลิตในพื้นที่ไมเหมาะสม (S3 หรือ N) ควรสนับสนุนให
เขาโครงการปรับเปลี่ยนการผลิต เชน เปลี่ยนชนิดพืชที่มีความเหมาะสมกวาการปลูกมันสําปะหลัง
มีตนทุนที่ต่ํา และใหผลตอบแทนที่ดีกวา แตทั้งนี้ตองพิจารณาตลาดและแหลงรับซื้อรวมดวย