Page 32 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดสุโขทัย
P. 32
ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
25
4.2 ออยโรงงาน
1) พื้นที่ปลูกออยโรงงานที่มีความเหมาะสมสูง (S1) และปจจุบันยังปลูกออยโรงงานอยู
มีเนื้อที่ 71,957 ไร มีพื้นที่ปลูกมากในเขตอําเภอสวรรคโลก อําเภอคีรีมาศ อําเภอศรีนคร อําเภอ
ศรีสําโรง อําเภอศรีสัชนาลัย อําเภอทุงเสลี่ยม อําเภอบานดานลานหอย อําเภอกงไกรลาศ อําเภอ
เมืองสุโขทัย ตามลําดับ ตามแผนยุทธศาสตรสํานักงานคณะกรรมการออยและน้ําตาลทราย พ.ศ. 2560-
2564 มียุทธศาสตร สงเสริม สนับสนุนการวิจัย การบริหารจัดการ และการเพิ่มประสิทธิภาพ การ
ผลิตอุตสาหกรรม ออยน้ําตาลทราย และอุตสาหกรรม เนนใหมีการเพิ่มผลผลิตออยโรงงานในพื้นที่ที่มี
ศักยภาพสูง แตเนนการลดตนทุนผลผลิต ทั้งนี้ควรสงเสริมใหเกษตรกรใชปุยอินทรียแบบคุณภาพสูง มี
การเก็บเกี่ยวผลผลิตโดยการรณรงคลดการเผาตอซังเพื่อเพิ่มผลผลิตและลดปญหาภาวะโลกรอน
หนวยงานที่เกี่ยวของคิดคนเทคโนโลยีการเก็บเกี่ยวโดยใชเครื่องจักรเพื่อลดปญหาแรงงาน สงเสริมให
เกษตรกรรวมกลุมและเขารวมโครงการเกษตรแปลงใหญ จัดหาปจจัยการผลิตใหกับเกษตรกร และ
อบรมใหความรูแกเกษตรกรที่มีการปรับปรุงบํารุงดินโดยลดตนทุนการผลิต สงเสริมใหมีการปลูกออย
โรงงานที่มีสายพันธุตานทานโรค สรางความตระหนักและความรูความเขาใจใหกับเกษตรกรที่มีพื้นที่ที่
มีความเหมาะสมสูง ในการปลูกออยโรงงาน เพื่อแกไขปญหาการปรับเปลี่ยนพื้นที่
2) พื้นที่ปลูกออยโรงงานที่มีความเหมาะสมปานกลาง (S2) และปจจุบันยังปลูกออยโรงงาน
อยู มีเนื้อที่ 365,906 ไร สวนใหญอยูในเขตอําเภอสวรรคโลก อําเภอศรีสัชนาลัย และอําเภอคีรีมาศ
เกษตรกรยังคงปลูกออยโรงงานไดผลดี หลายแหงประสบปญหาขาดน้ําในบางชวงของการเพาะปลูก
ดังนั้นควรมีการพัฒนาศักยภาพของพื้นที่ใหมากขึ้น ในเรื่องของคุณภาพดิน และการบริหารจัดการน้ํา
ใหมีเพียงพอและเหมาะสมตอการเพาะปลูก สรางความรูความเขาใจใหกับเกษตรกรในการจัดการ
พื้นที่ การปลูก การดูแลรักษา และการเก็บเกี่ยว สงเสริมการเพิ่มมูลคาของเสียจากโรงงานน้ําตาล
และการนําของเสียจากโรงงานน้ําตาลไปใชในการปรับปรุงบํารุงดินในไรออย เพื่อเพิ่มผลผลิตและลด
ตนทุนใหแกเกษตรกรชาวไรออยโดยไมมีผลเสียตอสุขภาพ สิ่งแวดลอม และชุมชนชาวไรออย
3) พื้นที่ปลูกออยโรงงานในพื้นที่ไมมีความเหมาะสม (S3 และ N) และปจจุบันเกษตรกร
ยังคงใชที่ดินปลูกออยโรงงานอยู 79,037 ไร พื้นที่ดังกลาวประสบปญหาซ้ําซาก เชน น้ําทวม ขาดน้ํา
ผลผลิตต่ํา กระทรวงเกษตรและสหกรณใหการชวยเหลือเกษตรกรที่ทํากินในพื้นที่นี้ โดยสนับสนุนการ
ปรับโครงสรางที่ดินสนับสนุนแหลงน้ํา ใหเกษตรกรเลือกปลูกพืชชนิดใหมที่มีความเหมาะสม เปนการ
สรางรายได และผลิตอาหารเพื่อบริโภค
4) พื้นที่ที่มีศักยภาพ หรือมีความเหมาะสมสําหรับการปลูกออยโรงงาน แตปจจุบัน
เกษตรกรไมไดใชพื้นที่ปลูกออยโรงงาน พบวาเกษตรกรปลูกพืชอื่นทดแทน เชน ขาว ยางพารา เปนตน
ทั้งนี้ในกรณีที่เกษตรกรปลูกพืชไรอื่น ๆ ภาครัฐควรใหความรูแกเกษตรกรและสรางแรงจูงใจใหกลับมา
ปลูกออยโรงงานเหมือนเดิม เนื่องจากพื้นที่มีความเหมาะสม ทําใหใชตนทุนการผลิตต่ําและผลผลิตมี
คุณภาพดี ทั้งนี้เกษตรกรตองพิจารณาตลาดและแหลงรับซื้อรวมดวย