Page 28 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดสุโขทัย
P. 28

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                               21








                                     เมื่อวิเคราะหขอมูลศักยภาพพื้นที่รวมกับพื้นที่ปลูกพืชในปจจุบัน พบวาพื้นที่ที่ควร
                       สงเสริมใหมีการปรับเปลี่ยนไปปลูกยางพารา คือ บริเวณที่เปนพื้นที่ปลูกขาว (S3+N) 6,325 ไร
                       เนื่องจากยุทธศาสตรยางพาราระยะ 20 ป (พ.ศ. 2560 – 2579) กําหนดที่จะลดพื้นที่ปลูกยางพารา
                       ใหเหลือประมาณ 18.4 ลานไร ดังนั้น จึงควรพิจารณาปลูกพืชเศรษฐกิจชนิดอื่นที่สอดคลองกับความ

                       ตองการของตลาด (ตารางที่ 10)

                       ตารางที่ 10 พื้นที่ศักยภาพในการขยายการผลิตยางพารา


                                                                           ขาว (ไร)
                                   อําเภอ
                                                            S3                N                รวม
                           คีรีมาศ                          217                 -              217
                           ทุงเสลี่ยม                      228                 3              231

                           บานดานลานหอย                    59                 -               59
                           ศรีนคร                            22                 -               22
                           ศรีสัชนาลัย                    5,716                80            5796

                                    รวม                   6,242                83            6,325


                             4) แนวทางการจัดการ
                               (1) พื้นที่ที่มีความเหมาะสมควรสงเสริมการผลิต (S1 หรือ S2) ควรสนับสนุนให
                       เกษตรกรปลูกมันสําปะหลังตอไปเนื่องจากเปนพื้นที่ที่เหมาะสม สามารถชวยลดตนทุนการผลิตและ
                       ไดผลผลิตที่มีคุณภาพดี ซึ่งการปลูกยางพาราในพื้นที่ดังกลาวขางตนสามารถนําไปสูการตอยอด

                       โครงการที่สําคัญตาง ๆ ได เชน ระบบสงเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ เกษตรแมนยํา เปนตน
                                 พื้นที่ปลูกยางพาราในบริเวณที่มีความเหมาะสมสูง (S1) คือพื้นที่ปลูกยางพาราในที่ดิน
                       ที่ไมมีขอจํากัดทางกายภาพตอการปลูกยางพาราซึ่งควรสงวนไวเปนแหลงปลูกยางพาราที่สําคัญ

                       ของจังหวัด โดยกระจายอยูในอําเภอสวรรคโลก อําเภอคีรีมาศ และอําเภอศรีนคร
                                 พื้นที่ปลูกยางพาราในบริเวณที่มีความเหมาะสมปานกลาง (S2) คือพื้นที่ปลูก
                       ยางพาราในที่ดินที่มีขอจํากัดทางกายภาพบางประการตอการปลูกยางพารา เชน ความอุดมสมบูรณ
                       ของดิน ความเปนกรดเปนดางและแหลงน้ํา โดยกระจายอยูในอําเภอศรีสัชนาลัย อําเภอคีรีมาศ และ

                       อําเภอสวรรคโลก
                               (2) พื้นที่ที่ควรปรับเปลี่ยนการผลิตในพื้นที่ไมเหมาะสม (S3 หรือ N) ควรสนับสนุนให
                       เขาโครงการปรับเปลี่ยนการผลิต เชน เปลี่ยนชนิดพืชที่มีความเหมาะสมกวาการปลูกยางพารา
                       มีตนทุนที่ต่ํา และใหผลตอบแทนที่ดีกวา แตทั้งนี้ตองพิจารณาตลาดและแหลงรับซื้อรวมดวย
   23   24   25   26   27   28   29   30   31   32   33