Page 30 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดสุโขทัย
P. 30
ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
23
ชื่อเสียงเปนที่รูจักของผูบริโภค หากใครตองการชิมละมุดรสอรอยที่สุด ตองรอผลผลิตในชวงเดือน
มกราคม - กุมภาพันธ เพราะละมุดพันธุมะกอกรุนนี้จะมีรสหวานจัด หอม ผลสีแดง เนื้อกรอบ ถูกใจ
ผูบริโภค พื้นที่ปลูกละมุดอยูใน ตําบลทาทอง ตําบลปากน้ํา ตําบลคลองกระจง ตําบลเมืองบางยม
อําเภอสวรรคโลก และตําบลสามเรือน ตําบลวัดเกาะ อําเภอศรีสําโรง จังหวัดสุโขทัย
3.4 ลางสาด มีถิ่นกําเนิดในหมูเกาะมาลายู หมูเกาะชวา อินโดนีเซีย ฟลิปปนส และประเทศไทย
จัดเปนไมยืนตนขนาดเล็ก เปนไมผลเมืองรอน (รอนชื้น) มีลําตนตรง สูงประมาณ 5 - 10 เมตร แตกกิ่ง
กานเปนมุมแหลมกระจายกึ่งกลางลําตนขึ้นไป ลักษณะปลายกิ่งตั้ง สวนผิวของลําตนชั้นนอกมีสีเทา
และขรุขระ เปลือกไมหลุดออก เจริญเติบโตไดดีในดินรวนซุยหรือในดินรวนปนทราย เปนตนไมที่ชอบ
แสงแดด อากาศชื้นปานกลาง และมีน้ําปานกลางออกผลเปนชอ ๆ ผลสดมีสีเขียว เมื่อสุกจะเปนสีเหลือง
ผลมีลักษณะกลมรี เปลือกคอนขางบาง ผิวละเอียด ผลออนนุม มียางมากเปนสีขาวขุน ๆ สวนเนื้อในนิ่ม
ฉ่ําน้ํา มีรสหวานหอมอมเปรี้ยวเล็กนอย ในผลมีเมล็ดมาก ประมาณ 5 เมล็ด และเมล็ดมีสีน้ําตาล
ลักษณะกลมแบนรี มีเปลือกหุมบาง ๆ ผิวเมล็ดเรียบ มีเนื้อในสีขาว มีรสฝาดและขมจัด ขยายพันธุ
ดวยวิธีการเพาะเมล็ด การตอนแบบควั่นกิ่ง การติดตา และการตอกิ่งลักษณะของลางสาด แหลงปลูก
ลางสาดที่สําคัญในจังหวัดสุโขทัยอยูในอําเภอศรีสัชนาลัย
3.5 มะยงชิด เปนพืชตระกูลเดียวกับมะปราง โดยมะปรางจะมีรสหวานจัดกับเปรี้ยวจัดสวนมะยงชิด
จะมีรสหวานอมเปรี้ยว ซึ่งเปนที่นิยมของตลาดในตางประเทศมากกวามะปราง มีลักษณะเดน
เฉพาะตัวเปนผลไมที่หายากมีผลผลิตออกสูตลาดนอย ผลมีรูปทรงและผิวสีที่สวยงาม หากไดผลผลิต
มะยงชิดที่มีรสชาติหวาน และผลใหญ เมล็ดเล็ก ยอมเปนที่ตองการของตลาดในประเทศ และ
ตางประเทศ มะยงชิดถือเปนไมผลเศรษฐกิจที่สําคัญอีกชนิดหนึ่งที่เกษตรกร นิยมปลูกเปนการคา
แหลงปลูกมะยงชิดที่สําคัญในจังหวัดสุโขทัยอยูในอําเภอสวรรคโลก
3.6 พืชสมุนไพร ดวยนโยบายของรัฐบาลที่ใหการสนับสนุนแนวคิด BCG (Bio-Circular-Green
Economy) หรือ เศรษฐกิจชีวภาพในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจของประเทศ พืชสมุนไพรเปนเรื่องหนึ่งที่
ไดรับความสนใจ เนื่องจากเปนแหลงของสาระสําคัญที่นําไปใชประโยชนในดานตาง ๆ เชน การแพทย
ผลิตภัณฑเสริมอาหาร และเครื่องสําอาง จึงสนับสนุนใหพืชสมุนไพรเปนพืชทางเลือกในป 2564
โดยดําเนินการภายใตตลาดนําการผลิต และหากทิศทางของตลาดสมุนไพรขยายตัวเพิ่มมากขึ้นจะชวย
ใหเกษตรกรผูปลูกพืชสมุนไพร มีรายไดและความมั่นคงในการดํารงชีพจากฐานขอมูล Agri-Map
Online จังหวัดสุโขทัยมีพื้นที่ศักยภาพที่สามารถสงเสริมใหปลูกพืชสมุนไพรไดหลายชนิด เชน
ขมิ้นชัน บัวบก เปนตน
ขมิ้นชัน เปนพืชปลูกงาย ชอบแสงแดดจัด และมีความชื้นสูง ชอบดินรวนซุย มีการระบายน้ําดี
ไมชอบน้ําขัง เกษตรกรสามารถปลูกขมิ้นชันแซมในสวนเปนการใชพื้นที่ใหเกิดประโยชน และมีรายได
ระหวางรอการเติบโตของพืชเศรษฐกิจ โดยพื้นที่จังหวัดสุโขทัยมีพื้นที่ศักยภาพในการปลูกขมิ้นชันที่
ระดับความเหมาะสมสูง (S1) ประมาณ 195,881 ไร กระจายอยูในอําเภอศรีสัชนาลัย อําเภอสวรรคโลก
อําเภอคีรีมาศ อําเภอกงไกรลาศ อําเภอศรีนคร เปนตน