Page 34 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดสุโขทัย
P. 34
ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
27
4) พื้นที่ที่มีศักยภาพ หรือมีความเหมาะสมสําหรับการปลูกมันสําปะหลัง แตปจจุบัน
เกษตรกรไมไดใชพื้นที่ปลูกมันสําปะหลัง พบวาเกษตรกรปลูกพืชอื่นทดแทน เชน ขาว ยางพารา เปนตน
ภาครัฐควรใหความรูแกเกษตรกรและสรางแรงจูงใจใหกลับมาปลูกมันสําปะหลังเหมือนเดิม เนื่องจาก
พื้นที่มีความเหมาะสม ทําใหใชตนทุนการผลิตต่ําและผลผลิตมีคุณภาพดี ทั้งนี้เกษตรกรตองพิจารณา
ตลาดและแหลงรับซื้อรวมดวย
4.4 ยางพารา
1) พื้นที่ปลูกยางพาราที่มีความเหมาะสมสูง (S1) และปจจุบันยังปลูกยางพาราอยู มีเนื้อ
ที่ 396 ไร มีพื้นที่ปลูกมากในเขตอําเภอสวรรคโลก อําเภอคีรีมาศ อําเภอศรีนคร ตามลําดับ ตาม
มาตรการยุทธศาสตรยางพาราระยะ 20 ป ( พ.ศ. 2560- 2579) ควรมีการจัดการที่เหมาะสมในเรื่อง
การคัดเลือกพันธุใหเหมาะสมกับสภาพพื้นที่และตานทานโรค การปรับปรุงบํารุงดิน การใสปุยที่
ถูกตองและมีประสิทธิภาพ การปลูกพืชแซมและพืชคลุมดินใหเหมาะสมเพราะมีผลตอการจริญเติบโต
ของยาง การบํารุงรักษา การใสปุยการตัดแตงกิ่ง และเทคนิคการกรีดยางใหมีปริมาณน้ํายางสูงมี
คุณภาพและตรงตามมาตรฐาน เนนการพัฒนาการตลาดในพื้นที่ เชน จัดตั้งจุดรับซื้อ โรงงานแปรรูป
ผลิตภัณฑในพื้นที่ที่มีความเหมาะสมสูง สงเสริมใหเกษตรกรชาวสวนยางในพื้นที่มีความเขมแข็ง มีการ
บริหารงานแบบมืออาชีพและสามารถถายทอดกิจการใหกับคนรุนใหม
2) พื้นที่ปลูกยางพาราที่มีความเหมาะสมปานกลาง (S2) และปจจุบันยังปลูกยางพารา
อยู มีเนื้อที่ 2,226 ไร สวนใหญอยูในเขตอําเภอศรีสัชนาลัย อําเภอคีรีมาศ อําเภอสวรรคโลก ควร
สนับสนุนใหมีเพิ่มผลผลิตยางพารา โดยเนนการจัดการที่เหมาะสมในเรื่องตาง ๆ เชนเดียวกันกับพื้นที่
เหมาะสมสูง โดยเฉพาะการปรับปรุงบํารุงดิน เนนการพัฒนาการตลาดในพื้นที่ เชน จัดตั้งจุดรับซื้อ
โรงงานแปรรูปผลิตภัณฑในพื้นที่ ที่มีความเหมาะสมปานกลางใหมากขึ้น สงเสริมใหมีการโคน
ยางพาราที่มีอายุตั้งแต 25 ป และปลูกยางพาราทดแทนในพื้นที่เดิมเชนกันกับพื้นที่ที่มีความเหมาะสม
สูง พัฒนาตลาดและชองทางจัดจําหนายใหมากขึ้น โดยเนนการแปรรูปยาง หรือไมยางพาราเพิ่มมาก
ขึ้นซึ่งอาจเนนจากชุมชนที่เขมแข็งเปนพื้นที่ตนแบบ
3) พื้นที่ปลูกยางพาราในพื้นที่ไมมีความเหมาะสม (S3 และ N) และปจจุบันเกษตรกร
ยังคงใชที่ดินปลูกยางพาราอยู 19,699 ไร พื้นที่ดังกลาวประสบปญหาซ้ําซาก เชน น้ําทวม ขาดน้ํา
ผลผลิตต่ํา ดังนั้นควรมีการสงเสริมใหมีการโคนยางพาราที่มีอายุตั้งแต 25 ป และหาพืชอื่นทดแทน ให
การชวยเหลือเกษตรกรที่เลือกปลูกพืชชนิดใหมที่ใหผลตอบแทนที่ดีกวา หรือใชพื้นที่ผลิตพืชผัก
บริโภคในครัวเรือน หรือเขาโครงการ ปรับเปลี่ยนการผลิต (Zoning by Agri-Map) จัดหาตลาดใหกับ
เกษตรกรในการปลูกพืชผักทดแทน โดยอาจเริ่มจากตลาดชุมชน
4) พื้นที่ที่มีศักยภาพ หรือมีความเหมาะสมสําหรับการปลูกยางพารา แตปจจุบันเกษตรกร
ไมไดใชพื้นที่ปลูกยางพารา พบวาเกษตรกรปลูกพืชอื่นทดแทน เชน ขาว เปนตน ในสวนนี้ภาครัฐควรให
ความรูความเขาใจถึงสถานการณดานการเกษตรในปจจุบัน โดยเฉพาะยางพาราเปนพืชที่มีนโยบาย