Page 31 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดสุโขทัย
P. 31

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                               24








                             บัวบก เปนพืชลมลุกขนาดเล็กมีอายุหลายป ปลูกงาย แตกรากตามขอใบ ชอบขึ้นในพื้นที่ชื้น
                       แตไมแฉะมาก โดยพื้นที่จังหวัดสุโขทัยมีพื้นที่ศักยภาพในการปลูกบัวบกที่ระดับความเหมาะสมสูง (S1)
                       ประมาณ 114,878 ไร อยูในอําเภอบางศรีสัชนาลัย อําเภอสวรรคโลก อําเภอศรีสําโรง อําเภอเมืองสุโขทัย
                       อําเภอคีรีมาศ อําเภอกงไกรลาศ อําเภอทุงเสลี่ยม อําเภอศรีนคร เปนตน


                       4. แนวทางการสงเสริมการปลูกพืชเศรษฐกิจ

                         4.1  ขาว

                             1) พื้นที่ปลูกขาวที่มีความเหมาะสมสูง (S1) และปจจุบันยังปลูกขาวอยู มีเนื้อที่ 399,360 ไร
                       อยูในเขตอําเภอกงไกรลาศ อําเภอเมืองสุโขทัย อําเภอศรีสัชนาลัย อําเภอคีรีมาศ อําเภอสวรรคโลก

                       อําเภอทุงเสลี่ยม อําเภอศรีนคร อําเภอศรีสําโรง อําเภอบานดานลานหอย พื้นที่ทั้ง 9 อําเภอ ตั้งอยู
                       ในเขตชลประทาน ทั้งนี้โดยคณะอนุกรรมการพัฒนาที่ดินจังหวัดสมควรใหมีการเสนอแผนการใชที่ดิน

                       เพื่อสงวนใหเปนแหลงผลิตขาวที่สําคัญของจังหวัด และมีการบริหารจัดการน้ําชลประทาน การจัดการ
                       ดิน ปุย พันธุขาว โดยรวมกลุมเปนเกษตรแปลงใหญ พัฒนาตอยอดครบวงจรการตลาดในและ
                       ตางประเทศการแปรรูป แหลงทุน มีภาครัฐสนับสนุนการทํามาตรฐานสินคาเกษตรอินทรีย และ การ

                       ปฏิบัติทางการเกษตรที่ดี (Good Agricultural Practices: GAP) และเนื่องจากเปนพื้นที่ศักยภาพสูง การ
                       ปลูกพืชหลังนาจะชวยใหเกษตรกรมีรายไดเพิ่มขึ้น และเปนการปรับปรุงบํารุงดิน

                             2) พื้นที่ปลูกขาวที่มีความเหมาะสมปานกลาง (S2) และปจจุบันยังปลูกขาวอยู มีเนื้อที่มาก
                       ถึง 716,349 ไร สวนใหญอยูในเขตอําเภอเมืองสุโขทัย อําเภอศรีสําโรง อําเภอกงไกรลาศ อําเภอคีรีมาศ

                       อําเภอสวรรคโลก อําเภอศรีสัชนาลัย อําเภอศรีนคร อําเภอทุงเสลี่ยม อําเภอบานดานลานหอย เปนพื้นที่
                       ปลูกขาวที่มีขอจํากัดไมมากนัก เกษตรกรยังคงปลูกขาวไดผลดี หลายแหงประสบปญหาขาดน้ําในบางชวง

                       ของการเพาะปลูก การสนับสนุนดานการชลประทาน จะสรางความมั่นใจใหกับเกษตรกรในการใชที่ดิน
                       ปญหาการทิ้งถิ่นจะลดลง และพื้นที่ในเขตนี้มีความเหมาะสมสูงสําหรับการเกษตรแบบผสมผสาน หรือ
                       เกษตรทฤษฎีใหม

                             3) พื้นที่ปลูกขาวที่ไมมีความเหมาะสม (S3 และ N) และปจจุบันเกษตรกรยังคงใชที่ดิน
                       ปลูกขาวอยู 194,346 ไร ซึ่งประสบปญหาซ้ําซากน้ําทวม ขาดน้ํา ผลผลิตต่ํา กระทรวงเกษตรและ

                       สหกรณใหการชวยเหลือเกษตรกรที่ทํากินในพื้นที่นี้ โดยสนับสนุนการปรับโครงสรางที่ดินสนับสนุน
                       แหลงน้ํา ใหเกษตรกรเลือกปลูกพืชชนิดใหมที่มีความเหมาะสม เปนการสรางรายได และผลิตอาหาร

                       เพื่อบริโภค
                             4) พื้นที่ที่มีศักยภาพ หรือมีความเหมาะสมสําหรับการปลูกขาว แตปจจุบันเกษตรกรไมไดใช

                       พื้นที่ปลูกขาว โดยหันมาปลูกออยโรงงานแทน เกษตรกรเปนสมาชิกชาวไรออยโรงงานของโรงงานน้ําตาล
                       ทําขอตกลงซื้อขายผลผลิต เกษตรกรมีความมั่นใจมากกวาการปลูกขาวแตในอนาคตเกษตรกรสามารถ
                       กลับมาปลูกขาวหรือทําการเกษตรแบบผสมผสานไดอีก
   26   27   28   29   30   31   32   33   34   35   36