Page 25 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดสุโขทัย
P. 25

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                               18








                         2.4  ยางพารา
                             ยางพาราพืชเศรษฐกิจหลักของสุโขทัยในลําดับที่ 4 จากฐานขอมูลในแผนที่เกษตรเชิงรุก หรือ
                       Agri-Map Online สามารถวิเคราะหขอมูลออกเปน 3 พื้นที่ดังนี้

                               1) การวิเคราะหศักยภาพของพื้นที่ปลูกยางพารา
                                   ระดับที่ 1 เปนพื้นที่ความเหมาะสมสูง (S1) มีเนื้อที่ 115,825 ไร คิดเปนรอยละ 4.25

                       ของพื้นที่ศักยภาพของที่ดิน กระจายตัวมากอยูในอําเภอสวรรคโลก 49,803 ไร อําเภอคีรีมาศ
                       23,828 ไร และอําเภอศรีนคร 11,368 ไร
                                   ระดับที่ 2 เปนพื้นที่ความเหมาะสมปานกลาง (S2) มีเนื้อที่ มีเนื้อที่ 192,066 ไร คิดเปน
                       รอยละ 7.04 ของพื้นที่ศักยภาพของที่ดินในจังหวัด กระจายอยูในอําเภอศรีสัชนาลัย 57,155 ไร

                       อําเภอสวรรคโลก 53,247 ไร และอําเภอคีรีมาศ 43,877 ไร
                                   ระดับที่ 3 เปนพื้นที่ความเหมาะสมเล็กนอย (S3) มีเนื้อที่ 684,373 ไร คิดเปนรอยละ 25.09
                       ของพื้นที่ศักยภาพของที่ดิน กระจายตัวมากอยูในอําเภอบานดานลานหอย 194,548 ไร อําเภอศรีสัชนาลัย

                       166,005 ไร และอําเภอสวรรคโลก 113,034 ไร
                                   ระดับที่ 4 เปนพื้นที่ไมเหมาะสม (N) มีเนื้อที่ 1,735,420 ไร

                               2) การวิเคราะหพื้นที่ปลูกยางพาราในปจจุบัน ซึ่งจําแนกตามชั้นความเหมาะสมของที่ดิน
                       ไดดังนี้
                                  (1) พื้นที่เหมาะสมสูง (S1) มีเนื้อที่ 396 ไร คิดเปนรอยละ 0.34 ของพื้นที่ศักยภาพสูง

                       กระจายตัวมากอยูในอําเภอสวรรคโลก 163 ไร อําเภอคีรีมาศ 118 ไร และอําเภอศรีนคร 78 ไร
                                  (2) พื้นที่เหมาะสมปานกลาง (S2) มีเนื้อที่ 2,226 ไร คิดเปนรอยละ 1.16 ของพื้นที่
                       ศักยภาพปานกลาง กระจายตัวมากอยูในอําเภอศรีสัชนาลัย 1,581 ไร อําเภอคีรีมาศ 477 ไร และ
                       อําเภอสวรรคโลก 94 ไร
                                  (3) พื้นที่เหมาะสมเล็กนอย (S3) มีเนื้อที่ 13,963 ไร คิดเปนรอยละ 2.04 ของพื้นที่

                       ศักยภาพเล็กนอย กระจายตัวมากอยูในอําเภอศรีสัชนาลัย 8,130 ไร อําเภอทุงเสลี่ยม 3,389 ไร และ
                       อําเภอศรีสําโรง 949 ไร
                                  (4)  พื้นที่ไมเหมาะสม (N) ในการปลูกยางพารา มีเนื้อที่ 5,736 ไร

                                3) พื้นที่มีศักยภาพคงเหลือ คือ พื้นที่ที่มีศักยภาพในการปลูกยางพาราแตยังไมใชพื้นที่ปลูก

                       พิจารณาจากพื้นที่ศักยภาพของที่ดินสําหรับการปลูกยางพารา และพื้นที่ปลูกยางพาราในชั้นความ
                       เหมาะสมตาง ๆ (ปลูกจริง) พบวาจังหวัดสุโขทัยมีพื้นที่ศักยภาพคงเหลือในระดับความเหมาะสมสูง (S1)
                       และความเหมาะสมปานกลาง (S2) รวมทั้งสิ้น 305,269 ไร โดยกระจายอยูทั่วทุกอําเภอ โดยอําเภอ
                       ที่มีพื้นที่ศักยภาพคงเหลือมากที่สุด ไดแก อําเภอสวรรคโลก 102,793 ไร รองลงมาไดแก อําเภอคีรีมาศ

                       67,110 ไร อําเภอศรีสัชนาลัย 65,139 ไร และอําเภอศรีนคร 42,117 ไร โดยมีรายละเอียดดังนี้
                                   (1) พื้นที่เหมาะสมสูงคงเหลือ (S1) มีเนื้อที่ 115,429 ไร คิดเปนรอยละ 99.66
                       ของพื้นที่ศักยภาพสูง พบมากในอําเภอสวรรคโลก 49,640 ไร อําเภอคีรีมาศ 23,710 ไร อําเภอศรีนคร
                       11,290 ไร
   20   21   22   23   24   25   26   27   28   29   30