Page 27 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดแม่ฮ่องสอน
P. 27

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                               20








                       สรางเมล็ดโดยผานทางเปลือกของฝกที่อยูในดินโดยซึมผานไปกับน้ํา ดวยการกระจายตัวของฝนดี
                       ความชื้นสัมพัทธตลอดทั้งปเฉลี่ย 75 เปอรเซ็นตทําใหพื้นที่เหมาะสําหรับการปลูกถั่วลายเสือ

                         3.2 กะหล่ําปลี สํานักงานพาณิชยจังหวัดแมฮองสอน สถานการณการผลิตกะหล่ําปลีปการผลิต
                       2563/64 จังหวัดแมฮองสอน พื้นที่เพาะปลูก 7,795 ไร จํานวนเกษตรกร 1,233 ครัวเรือน ผลผลิตรวม
                       34,449.70 ตัน (ผลผลิตเฉลี่ย 6,439.20 กิโลกรัม/ไร) ปลูกมากในพื้นที่อําเภอแมสะเรียง พื้นที่ 6,000 ไร

                       ปริมาณผลผลิต 31,000 ตัน อายุการเก็บเกี่ยว 90 วัน เพาะปลูกและเก็บเกี่ยวผลผลิตหมุนเวียนตลอดทั้งป
                       โดยผลผลิตจะออกสูตลาดมากในชวงเดือนธันวาคม  ผลผลิตกะหล่ําปลี ป 2563/64 รายอําเภอ สูงสุดที่
                       อําเภอแมสะเรียง  พื้นที่ปลูก 6,000 ไร ผลผลิต 31,000 ตัน รองลงมาที่ อําเภอแมลานอย พื้นที่ปลูก
                       478 ไร ผลผลิต 1,633.5 ตัน และอําเภอสบเมย พื้นที่ปลูก 1,170 ไร ผลผลิต 1,605 ตัน

                         3.3 กระเทียม เปนพืชเศรษฐกิจและของดีจังหวัดแมฮองสอน จุดเดนของกระเทียมบานนาปลาจาด คือ

                       การใชสายน้ําแรของหุบเขาผานลําน้ําแมสะงี ซึ่งมีตนน้ํามาจากประเทศเมียนมา ที่ชวยใหกระเทียมมี
                       กลิ่นหอมและรสเผ็ดมากขึ้น ในแตละปจะปลูกกระเทียมเพียงครั้งเดียวในชวงปลายเดือนตุลาคม และ
                       เก็บผลผลิตในชวงเดือนมีนาคมถึงตนเดือนเมษายน ผลิตภัณฑที่ไดรับการพัฒนาจากงานวิจัยก็เปนที่
                       ชื่นชอบของผูบริโภคเพราะใสสวนผสมอื่น ๆ เชน งาขาว งาดํา ถั่วเนา ทําใหกลิ่นไมฉุนจัด โดยมีผลิตภัณฑ

                       แปรรูปทั้งกระเทียมโทน กระเทียมดองน้ําผึ้ง กระเทียมปรุงรส กระเทียมผง ขายแกนักทองเที่ยวและ
                       ขายผานออนไลนแบบงาย

                         3.4 กาแฟ กาแฟเปนพืชเศรษฐกิจที่มีชื่อเสียงและสรางรายไดใหกับเกษตรกร บานหวยหอม
                       อําเภอแมลานอย ปละกวา 1 ลานบาท โดยไดรับการสนับสนุนเมล็ดรวมถึงการรับซื้อเมล็ดดิบจาก
                       บริษัทสตารบัคสคอฟฟประเทศไทยจํากัด และองคกรพัฒนาชาวเขานํามาปลูกแบบผสมผสานกับพืชชนิดอื่น

                       อาทิเชน ขาวโพด กะหล่ําปลี หมาก ลูกเนียง และปลูกใตรมไมใหญซึ่งเปนวิธีเพราะปลูกที่ชวยอนุรักษ
                       สภาพแวดลอมไปดวย ปจจุปนเกษตรกรในหมูบานหวยหอม ทําการปลูกกาแฟออรแกนิค ผลผลิตปกวาละ
                       120 ตัน ซึ่งผลผลิตทั้งหมดสงไปขายยังประเทศสหรัฐอเมริกา แตไมเพียงพอตอความตองการของตลาด

                       ขณะนี้เตรียมที่จะขยายพื้นที่ปลูกกาแฟออรแกนิคพันธุอาราบิกาไปยังหมูบานอื่น ทั้งนี้เพื่อใหตําบลหวย
                       หอมเปนหมูบานปลูกกาแฟออรแกนิคพันธุอาราบิกาที่ใหญที่สุดในประเทศไทย และสงผลผลิตไปยัง
                       สหรัฐอเมริกาและตางประเทศใหมากที่สุด กาแฟที่นี่มีกลิ่นหอมและรสชาติอันเปนเอกลักษณ คือ
                       มีกลิ่นที่หอมหวานของผลไมตระกูลเบอรรี่ รสชาติเหมือนวาเรากําลังกินผลไมสุกสีแดงปลั่ง รสหวาน

                       อมเปรี้ยว ใหความรูสึกสดชื่นแบบผลไมสุกที่มีรสเปรี้ยวนิด ๆ

                         3.5 ขาวดอย ขาวพื้นเมืองของชนเผากะเหรี่ยงในจังหวัดแมฮองสอน เพาะปลูกในสภาพแวดลอม
                       ที่มีอินทรียวัตถุอุดมสมบูรณ มีการผลิตแบบวัฒนธรรมดั้งเดิมที่ปราศจากการใชสารเคมี ลักษณะเม็ดขาว
                       เมื่อหุงจะเหมือนขาวญี่ปุน เหนียวนุม มีคุณคาทางสารอาหารสูงทั้งวิตามิน A,B,C มีฤทธิ์ตานอนุมูลอิสระ
                       ลักษณะการปลูกขาวดอยจะตองปลูกแบบหมุนเวียนแปลงทุก 4 ป ในจํานวน 4 แปลง เพื่อตองการให

                       ดินไดพัก แลวสะสมอาหาร ตลอดจนเลี่ยงการเจอโรค นาขาว ในพื้นที่ 1 ไร มีผลผลิตประมาณ 100 กิโลกรัม
                       ซึ่งถือวาไมนอย ทั้งนี้เพราะการปลูกขาวบนเนินภูเขาที่มีความลาดชัน ประมาณ 45 องศา ไมสามารถ
                       นําเครื่องจักรเขาไปใชงานได จะตองเจาะหรือขุดเปนหลุมขนาดเล็กแลวนําเมล็ดพันธุขาวหยอดลงไป
   22   23   24   25   26   27   28   29   30   31   32