Page 25 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดแม่ฮ่องสอน
P. 25

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                               18








                       ตารางที่ 9  (ตอ)

                                                                     เนื้อที่ชั้นความเหมาะสม (ไร)
                         อําเภอ       ประเภทพื้นที่
                                                          S1        S2         S3        N         รวม

                                                          119                 3,560     5,092     8,771
                                 พื้นที่ศักยภาพของที่ดิน             -
                                                        (100.00%)           (100.00%)   (100.00%)   (100.00%)
                                 พื้นที่เพาะปลูกในชั้นความ
                         สบเมย                             -         -          -         -         -
                                 เหมาะสมตาง ๆ (ปลูกจริง)
                                                          119                                      119
                                 พื้นที่มีศักยภาพคงเหลือ             -          -         -
                                                        (95.37%)                                  (1.36%)
                                                         4,057     35,761    45,983    118,897   204,698
                                 พื้นที่ศักยภาพของที่ดิน
                                                       (100.00%)  (100.00%)  (100.00%)  (100.00%)  (100.00%)
                       รวมทั้ง   พื้นที่เพาะปลูกในชั้นความ   18     442       192         7        659
                       จังหวัด   เหมาะสมตาง ๆ (ปลูกจริง)  (0.44%)  (1.24%)  (0.42%)  (0.01%)  (0.32%)
                                                         4,039     35,319                         39,358
                                 พื้นที่มีศักยภาพคงเหลือ                        -         -
                                                       (99.56%)  (98.76%)                       (19.23%)


                                ทั้งนี้ ในการสงเสริมการปลูกพืชจะพิจารณาเฉพาะพื้นที่ที่มีศักยภาพคงเหลือในระดับความ
                       เหมาะสมสูง (S1) และระดับความเหมาะสมปานกลาง (S2) เทานั้น เนื่องจากสภาพพื้นที่ปลูกพืชตรงตาม
                       ศักยภาพของดิน การลงทุนต่ําก็สามารถเพิ่มผลผลิตได จึงควรสงเสริมในพื้นที่ดังกลาว
                                เมื่อวิเคราะหขอมูลศักยภาพพื้นที่รวมกับพื้นที่ปลูกพืชในปจจุบัน พบวาพื้นที่ที่ควร

                       พิจารณาใหมีการปรับเปลี่ยนไปปลูกยางพารา คือ บริเวณที่เปนพื้นที่ปลูกขาว (S3+N) 4,258 ไร
                       แตเนื่องจากยุทธศาสตรยางพาราระยะ 20  ป (พ.ศ. 2560-2579) กําหนดที่จะลดพื้นที่ปลูกยางพาราให
                       เหลือประมาณ 18.4 ลานไร ดังนั้น จึงควรพิจารณาปลูกพืชเศรษฐกิจชนิดอื่นที่สอดคลองกับความตองการ

                       ของตลาด (ตารางที่ 10)

                       ตารางที่ 10  พื้นที่ศักยภาพในการขยายการผลิตยางพารา

                                                                     ขาว (ไร)
                             อําเภอ
                                                  S3                    N                    รวม
                         ขุนยวม                   50                   80                    130
                         ปางมะผา                  2                     9                    11

                         ปาย                   1,465                  589                  2,053
                         เมืองแมฮองสอน         805                   42                    847
                         แมลานอย                  -                    -                      -

                         แมสะเรียง            1,217                     -                 1,217
                         สบเมย                      -                    -                      -
                              รวม               3,539                 720                  4,258
   20   21   22   23   24   25   26   27   28   29   30