Page 22 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดแม่ฮ่องสอน
P. 22

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                               15








                                ทั้งนี้ ในการสงเสริมการปลูกพืชจะพิจารณาเฉพาะพื้นที่ที่มีศักยภาพคงเหลือในระดับ
                       ความเหมาะสมสูง (S1) และระดับความเหมาะสมปานกลาง (S2) เทานั้น เนื่องจากสภาพพื้นที่ปลูก
                       พืชตรงตามศักยภาพของดิน การลงทุนต่ําก็สามารถเพิ่มผลผลิตได จึงควรสงเสริมในพื้นที่ดังกลาว
                                เมื่อวิเคราะหขอมูลศักยภาพพื้นที่รวมกับพื้นที่ปลูกพืชในปจจุบัน พบวาพื้นที่ที่ควร

                       พิจารณาใหมีการปรับเปลี่ยนไปปลูกลําไย คือ บริเวณที่เปนพื้นที่ปลูกขาว (S3+N) 9,367 ไร และพื้นที่
                       ปลูกขาวโพดลี้ยงสัตว (S3+N) 4,988 ไร (ตารางที่ 8)

                       ตารางที่ 8  พื้นที่ศักยภาพในการขยายการผลิตลําไย

                                                      ขาว (ไร)               ขาวโพดเลี้ยงสัตว (ไร)
                             อําเภอ
                                              S3         N         รวม       S3         N        รวม

                          ขุนยวม               218        209       427       725         0       725
                          ปางมะผา               2          9        11       221          -      221
                          ปาย                1,465        761     2,226     1,687        26    1,714

                          เมืองแมฮองสอน      805        358     1,163       545         0       545
                          แมลานอย            826        119       945       472          -      472
                          แมสะเรียง         3,503        593     4,096     1,287         1    1,288

                          สบเมย                353        146       499        24          -       24
                              รวม            7,172      2,195   9,367    4,961           27    4,988


                              4) แนวทางการจัดการ
                                (1) พื้นที่ที่มีความเหมาะสมควรสงเสริมการผลิต (S1 หรือ S2) ควรสนับสนุนใหเกษตรกร
                       ปลูกลําไยตอไป เนื่องจากเปนพื้นที่ที่เหมาะสม สามารถชวยลดตนทุนการผลิตและไดผลผลิต

                       ที่มีคุณภาพดี ซึ่งการปลูกลําไยในพื้นที่ดังกลาวขางตนสามารถนําไปสูการตอยอดโครงการที่สําคัญตาง ๆ
                       ได เชน เกษตรอินทรีย ระบบสงเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ เกษตรแมนยํา เปนตน
                                  พื้นที่ปลูกลําไยในบริเวณที่มีความเหมาะสมสูง (S1) คือพื้นที่ปลูกลําไยในที่ดินที่
                       ไมมีขอจํากัดทางกายภาพตอการปลูกลําไยซึ่งควรสงวนไวเปนแหลงลําไยที่สําคัญของจังหวัด กระจาย

                       อยูในอําเภอแมสะเรียง และอําเภอแมลานอย
                                  พื้นที่ปลูกลําไยในบริเวณที่มีความเหมาะสมปานกลาง (S2) คือพื้นที่ปลูกลําไยในที่ดิน
                       ที่มีขอจํากัดทางกายภาพบางประการตอการปลูกลําไย เชน ความอุดมสมบูรณของดิน ความเปนกรด
                       เปนดาง ความชื้น กระจายอยูในอําเภอแมสะเรียง และอําเภอปาย

                                (2) พื้นที่ที่ควรปรับเปลี่ยนการผลิตในพื้นที่ไมเหมาะสม (S3 หรือ N) ควรสนับสนุนใหเขา
                       โครงการปรับเปลี่ยนการผลิต เชน เปลี่ยนชนิดพืชที่มีความเหมาะสมกวาการปลูกลําไย มีตนทุนที่ต่ํา
                       และใหผลตอบแทนที่ดีกวา แตทั้งนี้ตองพิจารณาแหลงรับซื้อรวมดวย
   17   18   19   20   21   22   23   24   25   26   27