Page 23 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดแม่ฮ่องสอน
P. 23

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                               16








                         2.4  ยางพารา
                              ยางพาราเปนพืชเศรษฐกิจที่สําคัญในลําดับที่ 4 ของจังหวัดแมฮองสอน พื้นที่ปลูกมากที่สุดอยู
                       ในพื้นที่อําเภอปาย จากฐานขอมูลในแผนที่เกษตรเชิงรุก หรือ Agri-Map Online วิเคราะหขอมูลไดดังนี้
                       (ตารางที่ 9 และภาพที่ 12 - 13)

                              1) การวิเคราะหศักยภาพของพื้นที่ปลูกยางพารา
                                ระดับที่ 1 เปนพื้นที่ความเหมาะสมสูง (S1) มีเนื้อที่ 4,057 ไร คิดเปนรอยละ 1.98 ของ
                       พื้นที่ศักยภาพของที่ดิน กระจายตัวมากอยูในอําเภอแมสะเรียง 3,113 ไร อําเภอเมืองแมฮองสอน 412 ไร
                       และอําเภอขุนยวม 402 ไร

                                ระดับที่ 2 เปนพื้นที่ความเหมาะสมปานกลาง (S2) มีเนื้อที่ 35,761 ไร คิดเปนรอยละ
                       17.47 ของพื้นที่ศักยภาพของที่ดิน กระจายตัวมากอยูในอําเภอปาย 26,369 ไร อําเภอเมือง
                       แมฮองสอน 4,261 ไร และอําเภอขุนยวม 2,109 ไร
                                ระดับที่ 3 เปนพื้นที่ความเหมาะสมเล็กนอย (S3) มีเนื้อที่ 45,983 ไร คิดเปนรอยละ 22.46

                       ของพื้นที่ศักยภาพของที่ดิน กระจายตัวมากอยูในอําเภอแมสะเรียง 14,418 ไร อําเภอขุนยวม 9,957 ไร
                       และอําเภอแมลานอย 6,448 ไร
                                ระดับที่ 4 เปนพื้นที่ไมเหมาะสม (N) มีเนื้อที่ 118,897 ไร

                              2) การวิเคราะหพื้นที่ปลูกยางพาราปจจุบัน ซึ่งจําแนกตามชั้นความเหมาะสมของที่ดิน ได
                       ดังนี้
                                (1) พื้นที่เหมาะสมสูง (S1) มีเนื้อที่ 18 ไร คิดเปนรอยละ 0.44 ของพื้นที่ศักยภาพสูง
                       กระจายตัวมากอยูในอําเภอขุนยวม 18 ไร
                                (2)  พื้นที่เหมาะสมปานกลาง (S2) มีเนื้อที่ 442 ไร คิดเปนรอยละ 67.07 ของพื้นที่ศักยภาพ

                       ปานกลาง กระจายตัวมากอยูในอําเภอปาย 332 ไร อําเภอขุนยวม 105 ไร และอําเภอเมืองแมฮองสอน 5 ไร
                                (3)  พื้นที่เหมาะสมเล็กนอย (S3) มีเนื้อที่ 192 ไร คิดเปนรอยละ 1.24 ของพื้นที่ศักยภาพ
                       เล็กนอย กระจายตัวมากอยูในอําเภอแมสะเรียง 100 ไร อําเภอขุนยวม 69 ไร และอําเภอแมลานอย 23 ไร

                                (4) พื้นที่ไมเหมาะสม (N) มีเนื้อที่ 7 ไร
                              3) พื้นที่มีศักยภาพคงเหลือ คือ พื้นที่ที่มีศักยภาพในการปลูกยางพาราแตยังไมใชพื้นที่ปลูก
                       พิจารณาจากพื้นที่ศักยภาพของที่ดินสําหรับการปลูกยางพารา และพื้นที่ปลูกยางพาราในชั้นความ
                       เหมาะสมตาง ๆ (ปลูกจริง) พบวาจังหวัดแมฮองสอนมีพื้นที่ศักยภาพคงเหลือในระดับความเหมาะสมสูง (S1)

                       และความเหมาะสมปานกลาง (S2) รวมทั้งสิ้น 39,358 ไร กระจายอยูอําเภอตาง ๆ โดยอําเภอที่มีพื้นที่
                       ศักยภาพคงเหลือมากที่สุด ไดแก อําเภอปาย 26,037 ไร รองลงมา ไดแก อําเภอเมืองแมฮองสอน
                       4,668 ไร และอําเภอแมสะเรียง 4,336 ไร โดยมีรายละเอียดดังนี้
                                (1) พื้นที่เหมาะสมสูงคงเหลือ (S1) มีเนื้อที่ 4,039 ไร คิดเปนรอยละ 99.56 ของพื้นที่

                       ศักยภาพสูง พบมากในอําเภอแมสะเรียง 3,113 ไร อําเภอเมืองแมฮองสอน 412 ไร อําเภอขุนยวม 384 ไร
                                (2) พื้นที่เหมาะสมปานกลางคงเหลือ (S2) มีเนื้อที่ 35,319 ไร คิดเปนรอยละ 98.76 ของ
                       พื้นที่ศักยภาพปานกลาง พบมากในอําเภอปาย 26,037 ไร อําเภอเมืองแมฮองสอน 4,256 ไร
                       อําเภอขุนยวม 2,004 ไร
   18   19   20   21   22   23   24   25   26   27   28