Page 26 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดแม่ฮ่องสอน
P. 26

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                               19








                              4) แนวทางการจัดการ
                                (1) พื้นที่ที่มีความเหมาะสมควรสงเสริมการผลิต (S1 หรือ S2) ควรสนับสนุนใหเกษตรกร
                       ปลูกยางพาราตอไป เนื่องจากเปนพื้นที่ที่เหมาะสม สามารถชวยลดตนทุนการผลิตและไดผลผลิตที่มี
                       คุณภาพดี ซึ่งการปลูกยางพาราในพื้นที่ดังกลาวขางตนสามารถนําไปสูการตอยอดโครงการที่สําคัญ

                       ตาง ๆ ได เชน ระบบสงเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ เกษตรแมนยํา เปนตน
                                  พื้นที่ปลูกยางพาราในบริเวณที่มีความเหมาะสมสูง (S1) คือพื้นที่ปลูกยางพาราใน
                       ที่ดินที่ไมมีขอจํากัดทางกายภาพตอการปลูกยางพาราซึ่งควรสงวนไวเปนแหลงปลูกยางพาราที่สําคัญ

                       ของจังหวัด กระจายอยูในอําเภอขุนยวม
                                  พื้นที่ปลูกยางพาราในบริเวณที่มีความเหมาะสมปานกลาง (S2) คือพื้นที่ปลูกยางพารา
                       ในที่ดินที่มีขอจํากัดทางกายภาพบางประการตอการปลูกยางพารา เชน ความอุดมสมบูรณของดิน
                       ความเปนกรดเปนดางและแหลงน้ํา กระจายอยูในอําเภอขุนยวม อําเภอปาย และอําเภอเมืองแมฮองสอน

                                (2) พื้นที่ที่ควรปรับเปลี่ยนการผลิตในพื้นที่ไมเหมาะสม (S3 หรือ N) ควรสนับสนุนใหเขา
                       โครงการปรับเปลี่ยนการผลิต เชน เปลี่ยนชนิดพืชที่มีความเหมาะสมกวาการปลูกยางพารา
                       มีตนทุนที่ต่ํา และใหผลตอบแทนที่ดีกวา แตทั้งนี้ตองพิจารณาแหลงรับซื้อรวมดวย


                       3. พืชเศรษฐกิจอนาคตไกลของจังหวัด

                         3.1 ถั่วลายเสือแมฮองสอน (GI) หรือถั่วลิสงพันธุกาฬสินธุ 2 หนึ่งในสินคาเกษตรที่มีชื่อเสียงของ
                       จังหวัดแมฮองสอน เดิมถั่วลายเสือปลูกอยูในพื้นที่แถบภาคอีสานและภาคกลาง มีการนํามาปลูกที่

                       แมฮองสอน โดยกรมวิชาการเกษตร เกษตรกรจังหวัดแมฮองสอนนิยมปลูกกันมากในหลายพื้นที่ของ
                       จังหวัดแมฮองสอน ประวัติพันธุถั่วลายเสือหรือถั่วลิสงพันธุกาฬสินธุ 2 สถานีทดลองพืชไรกาฬสินธุได
                       รวบรวมพันธุถั่วลิสงไวตั้งแตป พ.ศ.2516 ในชื่อวา Kalasin Accession # 431 โดยนําเขาจาก

                       สถาบันวิจัยพืชนานาชาติกึ่งรอนและแหงแลง (ICRISAT) มีชื่อเดิมวา lCG 1703SB NCAc17127
                       ป พ.ศ. 2522-2529 ทําการคัดเลือกพันธุเปรียบเทียบพันธุเบื้องตน เปรียบเทียบมาตรฐาน เปรียบเทียบ
                       ทองถิ่น และในไรเกษตรกรป พ.ศ.2530-2543 ประเมินการยอมรับของเกษตรกร ไดรับพิจารณาให
                       เปนพันธุแนะนําของกรมวิชาการเกษตร เมื่อวันที่ 4 กรกฎาคม 2544 ปจจุบันมีชื่อเรียกอื่น ๆ วา
                       ถั่วพระราชทาน  ถั่วราชินีและถั่วจัมโบลาย จุดเดนถั่วลายเสือแมฮองสอนแตกตางจากถั่วลายเสือของ

                       จังหวัดอื่น ๆ คือ รสชาติ และเมล็ดใหญ เพราะดวยพื้นที่จังหวัดแมฮองสอนมีลักษณะเปนแองระหวาง
                       ภูเขาที่มีระดับความสูงจากระดับน้ําทะเลปานกลางตั้งแต 200 เมตรขึ้นไป ความสูงของพื้นที่สงผลให
                       สภาพดินทั่วไปเปนดินภูเขา มีคาความเปนกรด-ดางที่ระหวาง 5.5 - 6.5 เหมาะสมตอการเจริญเติบโต

                       ของถั่วลิสง มีอินทรียวัตถุปานกลางถึงสูงสงผลใหจํานวนฝก น้ําหนักฝกและน้ําหนักเมล็ดมีปริมาณสูง
                       เนื้อเมล็ดถั่วแนนและเกิดเมล็ดลีบนอย สภาพพื้นดินสวนใหญเปนดินรวน ดินรวน ปนทราย และ
                       ดินรวนเหนียวปนทราย ทําใหงายตอการแทงเข็มลงฝกของถั่วลิสง สงผลใหถั่วลิสงเจริญเติบโตไดดี
                       และใหผลผลิตสูง นอกจากนี้แรธาตุในดินมีปริมาณโพแทสเซียมสูงมากสงผลใหน้ําหนักเมล็ดมากขึ้น

                       ทําใหถั่วลายเสือแมฮองสอนมีความหวานสูงขึ้น แมจะมีปริมาณแคลเซียมในดินคอนขางต่ํา
                       แตเนื่องจากจังหวัดแมฮองสอนมีการกระจายตัวของฝนดี ฝนตกเยอะ มีทําใหธาตุแคลเซียมสามารถ
                       ซึมผานไปกับน้ําไดดีสงผลใหเมล็ดถั่วลายเสือมีขนาดเมล็ดใหญเต็มฝก ซึ่งธาตุแคลเซียมชวยเรื่องการ
   21   22   23   24   25   26   27   28   29   30   31