Page 28 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดแม่ฮ่องสอน
P. 28

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                               21








                       ในหลุม ชวงเวลาปลูกประมาณเดือนมิถุนายน แลวเก็บเกี่ยวผลผลิตประมาณเดือนพฤศจิกายน
                       หลังจากเก็บเกี่ยวขาวแลว จึงมีการเตรียมดินเพื่อปลูกพืชอื่นตอไป

                         3.6 บุก เปนพืชลมลุกชนิดหนึ่ง ซึ่งฤดูแลงสวนตนจะตายเหลือแตหัวอยูใตดิน เปนพืชที่มีถิ่นกําเนิด
                       ตั้งแตทางตะวันออกของเทือกเขาหิมาลัยไปจนถึงประเทศจีน ญี่ปุน และทางใตไปถึงประเทศไทย อินโดจีน
                       และฟลิปปนส ทั่วโลกมีพืชสกุลบุกอยูประมาณ 170 ชนิด แตมีเพียงไมกี่ชนิดที่นํามาใชประโยชน

                       ประเทศไทยมีบุกทั้งชนิดหัวกลมและหัวยาวอยูประมาณ 45 ชนิด ขึ้นอยูในสภาพพื้นที่ที่แตกตางกัน
                       สวนใหญนําตนออนและชอดอกมาปรุงเปนอาหารตามฤดูกาล บุกก็ยังเปนพืชที่มีชาวบานหรือเกษตรกร
                       เขาไปเก็บจากปามาขายเปนรายได  เริ่มสงเสริมใหปลูกในพื้นที่อําเภอแมสะเรียง และอําเภอสบเมย


                       4. แนวทางการสงเสริมการปลูกพืชเศรษฐกิจ

                         4.1  ขาว

                              1) พื้นที่ปลูกขาวที่มีความเหมาะสมสูง (S1) และปจจุบันยังปลูกขาวอยู มีเนื้อที่ 8,539 ไร
                       อยูในเขตอําเภอแมสะเรียง อําเภอเมืองแมฮองสอน อําเภอสบเมย อําเภอขุนยวม และอําเภอปางมะผา
                       โดยตั้งอยูในเขตชลประทาน 5 อําเภอ ทั้งนี้คณะอนุกรรมการพัฒนาที่ดินจังหวัดสมควรใหมีการเสนอ

                       แผนการใชที่ดินเพื่อสงวนใหเปนแหลงผลิตขาวที่สําคัญของจังหวัด และมีการบริหารจัดการน้ํา
                       ชลประทาน การจัดการดิน ปุย พันธุขาว โดยรวมกลุมเปนเกษตรแปลงใหญ พัฒนาตอยอดครบวงจร

                       การตลาดในและตางประเทศการแปรรูป แหลงทุน มีภาครัฐสนับสนุนการทํามาตรฐานสินคาเกษตร
                       อินทรีย และการปฏิบัติทางการเกษตรที่ดี (Good Agricultural Practices: GAP) และเนื่องจากเปนพื้นที่

                       ศักยภาพสูง การปลูกพืชหลังนาจะชวยใหเกษตรกรมีรายไดเพิ่มขึ้น และเปนการปรับปรุงบํารุงดิน
                              2) พื้นที่ปลูกขาวที่มีความเหมาะสมปานกลาง (S2) และปจจุบันยังปลูกขาวอยู มีเนื้อที่มาก

                       ถึง 24,902 ไร กระจายตัวอยูในทุกอําเภอของจังหวัดแมฮองสอน เปนพื้นที่ปลูกขาวที่มีขอจํากัดไมมากนัก
                       เกษตรกรยังคงปลูกขาวไดผลดี หลายแหงประสบปญหาขาดน้ําในบางชวงของการเพาะปลูก
                       ควรสนับสนุนดานการบริหารจัดการน้ํา เชน ชลประทาน จะสรางความมั่นใจใหกับเกษตรกรในการใชที่ดิน

                       ปญหาการทิ้งถิ่นฐานไปทํางานที่อื่นจะลดลง และพื้นที่ในเขตนี้มีความเหมาะสมสําหรับการเกษตร
                       แบบผสมผสาน เกษตรแมนยําหรือเกษตรทฤษฎีใหม เปนตน และภาครัฐควรใหความรูความเขาใจกับ

                       เกษตรกรโดยแนะนําวาไมควรปรับเปลี่ยนไปปลูกพืชชนิดอื่น หากขาวราคาไมดีและตองการปรับเปลี่ยน
                       การผลิตควรเปนพืชไร เพื่อในอนาคตยังสามารถกลับมาทํานาไดอีก

                              3) พื้นที่ปลูกขาวที่ไมมีความเหมาะสม (S3 และ N) และปจจุบันเกษตรกรยังคงใชที่ดิน
                       ปลูกขาวอยู 11,272 ไร ซึ่งประสบปญหาน้ําทวมซ้ําซาก ขาดน้ํา ผลผลิตต่ํา กระทรวงเกษตรและสหกรณ

                       ใหการชวยเหลือเกษตรกรที่ทํากินในพื้นที่นี้ เนื่องจากเปนพื้นที่ไมเหมาะสม โดยสนับสนุน
                       การปรับโครงสรางที่ดิน ปรับปรุงบํารุงดิน สนับสนุนแหลงน้ํา ใหเกษตรกรเลือกปลูกพืชชนิดใหม
                       ที่มีความเหมาะสม และใหผลตอบแทนที่ดีกวา หรือใชพื้นที่ผลิตอาหารเพื่อบริโภคในครัวเรือน หรือ

                       เขาโครงการบริหารจัดการพื้นที่เกษตรกรรม (Zoning by Agri-Map) เปนตน
   23   24   25   26   27   28   29   30   31   32   33