Page 31 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดแม่ฮ่องสอน
P. 31

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                               24








                              4) พื้นที่ที่มีศักยภาพหรือมีความเหมาะสมสําหรับการปลูกลําไย แตปจจุบันเกษตรกรไมไดใช
                       พื้นที่ปลูกลําไย พบวาเกษตรกรปลูกพืชอื่นทดแทน เชน ขาว ขาวโพดเลี้ยงสัตว ทั้งนี้หากพืชที่ปลูกเปน
                       พืชไร ถาในอนาคตลําไยราคาดี เกษตรกรอาจกลับมาปลูกลําไยไดเหมือนเดิม แตหากเปนไมผลหรือ

                       ไมยืนตน การกลับมาปลูกลําไยอาจเปนเรื่องยาก โดยเฉพาะการปลูกไมผล เชน ทุเรียน ที่ปจจุบันราคา
                       ดี แตทั้งนี้ตองพิจารณาตนทุนการผลิตรวมดวย ภาครัฐควรประชาสัมพันธและสรางมาตรการจูงใจให

                       เกษตรกรกลับมาปลูกลําไยในพื้นที่นี้ แตทั้งนี้ตองพิจารณาลักษณะทางการตลาดรวมดวย

                         4.4  ยางพารา
                              1) พื้นที่ปลูกยางพาราที่มีความเหมาะสมสูง (S1) และปจจุบันยังปลูกยางพาราอยู มีเนื้อที่

                       18 ไร มีพื้นที่ปลูกในเขตอําเภอขุนยวม ทั้งนี้โดยคณะอนุกรรมพัฒนาที่ดินจังหวัดสมควรใหมีการเสนอ
                       แผนการใชที่ดินเพื่อสงวนใหเปนแหลงปลูกยางพาราคุณภาพดีที่สําคัญของจังหวัด ควรมีการคัดเลือกพันธุ

                       ใหเหมาะสมกับสภาพพื้นที่และตานทานโรคการปรับปรุงบํารุงดิน การใสปุยที่ถูกตองและมีประสิทธิภาพ
                       การปลูกพืชแซมและพืชคลุมดินใหเหมาะสมเพราะมีผลตอการเจริญเติบโตของยาง รวมทั้ง

                       การบํารุงรักษา การใสปุยการตัดแตงกิ่ง และเทคนิคการกรีดยางใหมีปริมาณน้ํายางสูงมีคุณภาพและ
                       ตรงตามมาตรฐาน โดยเนนการพัฒนาการตลาดในพื้นที่ เชน จัดตั้งจุดรับซื้อ โรงงานแปรรูปผลิตภัณฑ
                       ในพื้นที่ที่มีความเหมาะสมสูง และสงเสริมใหเกษตรกรชาวสวนยางในพื้นที่มีความเขมแข็ง

                       มีการบริหารงานแบบมืออาชีพและสามารถถายทอดกิจการใหกับคนรุนใหม
                              2)  พื้นที่ปลูกยางพาราที่มีความเหมาะสมปานกลาง (S2) และปจจุบันยังปลูกยางพาราอยู

                       มีเนื้อที่ 442 ไร สวนใหญอยูในเขตอําเภอปาย อําเภอขุนยวม และเมืองแมฮองสอน ซึ่งเกษตรกรยังคง
                       ปลูกยางพาราไดผลดี ควรสนับสนุนใหมีเพิ่มผลผลิตยางพารา โดยเนนการจัดการที่เหมาะสมในเรื่องตางๆ

                       เชนเดียวกันกับพื้นที่เหมาะสมสูง โดย เฉพาะการปรับปรุงบํารุงดิน เนนการพัฒนาการตลาดในพื้นที่
                       เชน จัดตั้งจุดรับซื้อ โรงงานแปรรูปผลิตภัณฑในพื้นที่ ที่มีความเหมาะสมปานกลาง ใหมากขึ้น การสงเสริม

                       ใหมีการโคนยางพาราที่มีอายุตั้งแต 25 ป และปลูกยางพาราทดแทนในพื้นที่เดิมเชนกันกับพื้นที่ที่มี
                       ความเหมาะสมสูง รวมถึงการพัฒนาตลาดและชองทางจัดจําหนายใหมากขึ้น โดยเนนการแปรรูปยาง
                       หรือไมยางพาราเพิ่มมากขึ้นซึ่งอาจเนนจากชุมชนที่เขมแข็งเปนพื้นที่ตนแบบ

                              3) พื้นที่ปลูกยางพาราในพื้นที่ไมมีความเหมาะสม (S3 และ N) และปจจุบันเกษตรกร
                       ยังคงใชที่ดินปลูกยางพาราอยู อาจสงเสริมใหมีการโคนยางพาราที่มีอายุตั้งแต 25 ป และหาพืชอื่น

                       ทดแทน เชน สงเสริมใหปลูกไมผล มะพราว ไผหวาน ยาสูบ แตงโม พืชไร และพืชผักตางๆ ทดแทน
                       การใหการชวยเหลือเกษตรกรที่เลือกปลูกพืชชนิดใหมที่ใหผลตอบแทนที่ดีกวา หรือใชพื้นที่ผลิตพืชผัก

                       บริโภคในครัวเรือน หรือเขาโครงการบริหารจัดการพื้นที่เกษตรกรรม (Zoning by Agri-Map) เปนตน
                       รวมถึงการจัดหาตลาดใหกับเกษตรกรในการปลูกพืชผักทดแทน โดยอาจเริ่มจากตลาดชุมชน
   26   27   28   29   30   31   32   33   34   35   36