Page 20 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดแม่ฮ่องสอน
P. 20

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                               13








                              2) การวิเคราะหพื้นที่ปลูกลําไยในปจจุบัน ซึ่งจําแนกตามชั้นความเหมาะสมของที่ดิน ไดดังนี้
                                (1) พื้นที่เหมาะสมสูง (S1) มีเนื้อที่ 75 ไร คิดเปนรอยละ 0.63 ของพื้นที่ศักยภาพสูง
                       กระจายตัวมากอยูในอําเภอแมสะเรียง 73 ไร และอําเภอแมลานอย 2 ไร
                                (2) พื้นที่เหมาะสมปานกลาง (S2) มีเนื้อที่ 767 ไร คิดเปนรอยละ 1.10 ของพื้นที่ศักยภาพ

                       ปานกลาง กระจายตัวมากอยูในอําเภอแมสะเรียง 398 ไร อําเภอปาย 276 ไร และอําเภอสบเมย 43 ไร
                                (3) พื้นที่ไมเหมาะสม (N) มีเนื้อที่ 7 ไร
                              3) พื้นที่มีศักยภาพคงเหลือ คือ พื้นที่ที่มีศักยภาพในการปลูกลําไยแตยังไมใชพื้นที่ปลูก
                       พิจารณาจากพื้นที่ศักยภาพของที่ดินสําหรับการปลูกลําไย และพื้นที่ปลูกลําไยในชั้นความเหมาะสมตาง ๆ

                       (ปลูกจริง) พบวาจังหวัดแมฮองสอนมีพื้นที่ศักยภาพคงเหลือในระดับความเหมาะสมสูง (S1) และ
                       ความเหมาะสมปานกลาง (S2) รวมทั้งสิ้น 80,533 ไร กระจายอยูในอําเภอตาง ๆ โดยอําเภอที่มีพื้นที่
                       ศักยภาพคงเหลือมากที่สุด ไดแก อําเภอเมืองปาย 31,413 ไร รองลงมา ไดแก อําเภอแมสะเรียง 17,615 ไร
                       และอําเภอขุนยวม 11,811 ไร โดยมีรายละเอียดดังนี้

                                (1) พื้นที่เหมาะสมสูงคงเหลือ (S1) มีเนื้อที่ 11,773  ไร คิดเปนรอยละ 99.37
                       ของพื้นที่ศักยภาพสูง พบมากในอําเภอเมืองแมฮองสอน 3,393 ไร อําเภอแมสะเรียง 3,036 ไร และ
                       อําเภอปาย 2,280 ไร

                                (2) พื้นที่เหมาะสมปานกลางคงเหลือ (S2) มีเนื้อที่ 68,760 ไร คิดเปนรอยละ 98.90 ของ
                       พื้นที่ศักยภาพปานกลาง พบมากในอําเภอปาย 29,133 ไร อําเภอแมสะเรียง 14,579 ไร อําเภอขุนยวม
                       9,800 ไร

                       ตารางที่ 7  พื้นที่ศักยภาพ พื้นที่ปลูกจริง พื้นที่คงเหลือของลําไยรายอําเภอ จังหวัดแมฮองสอน

                                                                     เนื้อที่ชั้นความเหมาะสม (ไร)
                         อําเภอ       ประเภทพื้นที่
                                                          S1        S2         S3        N         รวม

                                                         2,011     9,800      586      14,464     26,861
                                 พื้นที่ศักยภาพของที่ดิน
                                                        (100.00%)   (100.00%)   (100.00%)   (100.00%)   (100.00%)
                                 พื้นที่เพาะปลูกในชั้นความ
                         ขุนยวม                            -         -          -         -         -
                                 เหมาะสมตางๆ (ปลูกจริง)
                                                         2,011     9,800                          11,811
                                 พื้นที่มีศักยภาพคงเหลือ                        -         -
                                                        (100.00%)   (100.00%)                    (43.97%)
                                                          934       877        67       9,793     11,671
                                 พื้นที่ศักยภาพของที่ดิน
                                                        (100.00%)   (100.00%)   (100.00%)   (100.00%)   (100.00%)
                                 พื้นที่เพาะปลูกในชั้นความ
                        ปางมะผา                           -         -          -         -         -
                                 เหมาะสมตางๆ (ปลูกจริง)
                                                          934       877                           1,811
                                 พื้นที่มีศักยภาพคงเหลือ                        -         -
                                                        (100.00%)   (100.00%)                    (15.52%)
   15   16   17   18   19   20   21   22   23   24   25