Page 28 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดตาก
P. 28

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน


                                                               21







                       3. พืชเศรษฐกิจอนาคตไกลของจังหวัด

                         3.1  กลวยหอมทอง ลักษณะประจําพันธุ: กลวยหอมทอง เปนสายพันธุที่มาจากกลวยปา เมื่อยังออน
                       อยูจะมีเปลือกสีเขียว และจะกลายเปนสีเหลืองทองเมื่อสุก ภายในผลจะมีเนื้อที่ละเอียดเปนสีครีม
                       สีเหลือง หรือสีสมออนๆ มีกลิ่นหอม รสหวาน ไมมีเมล็ด ความกวางของผลมีประมาณ 3-4 ซม.

                       ยาวประมาณ 18-25 ซม ผลสุกใชรับประทานเปนผลไม มีรสหวาน หอม อรอย มีวิตามินและ
                       สารอาหารที่เปน ประโยชนตอรางกายอยางมากมาย อาจนําไปแปรรูป ใชประกอบในการปรุงอาหารตาง ๆ
                       หรือปลูกขายเปนอาชีพ ปลูกมากที่อําเภอพบพระ และอําเภอแมระมาด ซึ่งมีความสูงของพื้นที่
                       เหมาะสมตอการปลูกกลวยหอม


                         3.2  อะโวคาโด อะโวคาโด หรืออาจเขียนวาอาโวคาโด อาโวกาโด หรือ อโวคาโด (Avocado)
                       คนไทยเรียกวา “ลูกเนย” อะโวคาโดมีชื่อวิทยาศาสตรวา Persea americana Mill. เปนผลไมที่มี
                       เนื้อมันเปนเนย โดยลักษณะ ของผลจะมีรูปรางคลายสาลี่ หรือรูปไขจนถึงรูปกลม อะโวคาโดเปน
                       ตนไมพื้นเมืองของเม็กซิโกในรัฐปวยบลา จัดอยูในวงศเดียวกันกับ กระวาน อบเชย เปนผลไมที่
                       ทรงคุณคาดานโภชนาการชนิดหนึ่ง อะโวคาโดเปนพืชที่ ปลูกงาย ดูแลงายโดยอะโวคาโดจะปลูกแซม

                       ในสวนผลไมได ถาพันธุที่ตนเล็ก เนื่องจากอะโวคาโดเติบโตไดดีในพื้นที่ภาคเหนือที่มีอากาศหนาวเย็น
                       โดยปลูกมากที่อําเภอพบพระ เพราะพื้นที่อยูสูงจากระดับทะเลปานกลาง 600-700 เมตร และอากาศ
                       คอนขางเย็น เหมาะสําหรับการปลูกอะโวกาโด อีกทั้งที่อําเภอพบพระยังเปนแหลงปลูกอะโวกาโดพันธุแฮสส

                       ที่ใหญที่สุดในประเทศอีกดวย
                         3.3  แมคคาเดเมีย แมคคาเดเมีย เปนไมยืนตนขนาดใหญและทรงพุมกวาง เปนไมที่เติบโตไดดี

                       ในพื้นที่สูงและมีอากาศเย็น แมคคาเดเมียมีผลสีเขียว เมื่อปอกเปลือกสีเขียวออกจะมีเปลือกสีน้ําตาล
                       ลักษณะแข็งหอหุมเมล็ดอยูเรียกวากะลา ตัวเมล็ดที่อยูในกะลามีสีขาวหรือสีครีม มักเอามาอบหรือทอด
                       ใหสุกกอนรับประทาน มีรสชาติมันอรอย โดยแมคคาเดเมียเปนผลิตภัณฑ OTOP ที่สําคัญอยางหนึ่งของ

                       จังหวัดตาก โดยมีอําเภอพบพระเปนแหลงปลูกที่สําคัญ

                         3.4  กุหลาบตัดดอก ลักษณะของกุหลาบตัดดอก ประเทศไทยมีศักยภาพในการผลิตกุหลาบ
                       คุณภาพสูงอยางตอเนื่อง หากแตจะตองผลิตในพื้นที่ที่เหมาะสม คือพื้นที่สูงมากกวา 800 เมตร
                       เหนือระดับน้ําทะเล หากปลูกในที่ราบจะไดคุณภาพดีในชวง ฤดูหนาวเทานั้น ดังนั้นการผลิตกุหลาบมี
                       แนวโนมเพิ่มพื้นที่การผลิตบนที่สูงมากขึ้น กระจายอยูทั่วทุกภาคของประเทศ แหลงปลูกที่สําคัญไดแก

                       เชียงใหม เชียงราย ตาก นครปฐม สมุทรสาคร ราชบุรี และกาญจนบุรี และมีการขยายตัวของพื้นที่
                       มากที่สุดใน อําเภอพบพระ จังหวัดตาก เนื่องจาก มีสภาพภูมิอากาศที่เหมาะสม พื้นที่ไมสูงชัน และ
                       คาจางแรงงานตํ่า

                         3.7  พืชสมุนไพร ดวยนโยบายของรัฐบาลที่ใหการสนับสนุนแนวคิด BCG (Bio-Circular-Green
                       Economy) หรือ เศรษฐกิจชีวภาพในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจของประเทศ พืชสมุนไพรเปนเรื่องหนึ่งที่

                       ไดรับความสนใจ เนื่องจากเปนแหลงของสารสําคัญที่นําไปใชประโยชนในดานตาง ๆ เชน การแพทย
                       ผลิตภัณฑเสริมอาหาร และเครื่องสําอาง จึงสนับสนุนใหพืชสมุนไพรเปนพืชทางเลือกในป 2564
                       โดยดําเนินการภายใตตลาดนําการผลิต และหากทิศทางของตลาดสมุนไพรขยายตัวเพิ่มมากขึ้นจะชวย
   23   24   25   26   27   28   29   30   31   32   33