Page 33 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดตาก
P. 33

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน


                                                               26







                       ในเรื่องของคุณภาพดิน และการบริหารจัดการน้ําใหมีเพียงพอและเหมาะสมตอการเพาะปลูก สราง
                       ความรูความเขาใจใหกับเกษตรกรในการจัดการพื้นที่ การปลูก การดูแลรักษา และการเก็บเกี่ยว
                       สงเสริมการเพิ่มมูลคาของเสียจากโรงงานน้ําตาล และการนําของเสียจากโรงงานน้ําตาลไปใชในการ

                       ปรับปรุงบํารุงดินในไรออย เพื่อเพิ่มผลผลิตและลดตนทุนใหแกเกษตรกรชาวไรออยโดยไมมีผลเสียตอ
                       สุขภาพ สิ่งแวดลอม และชุมชนชาวไรออย

                             3) พื้นที่ปลูกออยโรงงานในพื้นที่ไมมีความเหมาะสม (S3 และ N) และปจจุบันเกษตรกร
                       ยังคงใชที่ดินปลูกออยโรงงานอยู พื้นที่ดังกลาวประสบปญหาซ้ําซาก เชน น้ําทวม ขาดน้ํา ผลผลิตต่ํา

                       ดังนั้นควรใหการชวยเหลือเกษตรกรที่เลือกปลูกพืชชนิดใหมที่ใหผลตอบแทนที่ดีกวา หรือใชพื้นที่ผลิต
                       พืชผัก บริโภคในครัวเรือน หรือเขาโครงการบริหารจัดการพื้นที่เกษตรกรรม (Zoning by Agri-Map)

                       เปนตนทั้งนี้ควรจัดหาตลาดใหกับเกษตรกรในการปลูกพืชผักทดแทน โดยอาจเริ่มจากตลาดชุมชน
                             4) พื้นที่ที่มีศักยภาพ หรือมีความเหมาะสมสําหรับการปลูกออยโรงงานแตเกษตรกรหันมา
                       ปลูกพืชอื่นทดแทน เชน ขาว ปาลมน้ํามัน ทุเรียน เงาะ ควรสรางความเขาใจใหกับเกษตรกรในการ

                       บริหารจัดการพื้นที่ และการปรับปรุงบํารุงดินไมใหเสื่อมโทรม
   28   29   30   31   32   33   34   35   36   37   38