Page 24 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดตาก
P. 24

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน


                                                               17







                         2.4  ออยโรงงาน
                                ออยโรงงานเปนพืชเศรษฐกิจหลักของจังหวัดตากลําดับที่ 4 จากฐานขอมูลในแผนที่เกษตร
                       เชิงรุก หรือ Agri-Map Online วิเคราะหขอมูลไดดังนี้ (ตารางที่ 9 และภาพที่ 12 - 13)
                               1) การวิเคราะหศักยภาพของพื้นที่ปลูกออยโรงงาน

                                  ระดับที่ 1 เปนพื้นที่ความเหมาะสมสูง (S1) มีเนื้อที่ 35,681 ไร คิดเปนรอยละ 2.35 ของ
                       พื้นที่ศักยภาพของที่ดิน กระจายตัวมากอยูในอําเภอเมืองตาก 13,110 ไร อําเภอแมสอด 7,620 ไร และ
                       อําเภออุมผาง 4,834 ไร
                                  ระดับที่ 2 เปนพื้นที่ความเหมาะสมปานกลาง (S2) มีเนื้อที่ 713,367 ไร คิดเปนรอยละ

                       47.09 ของพื้นที่ศักยภาพของที่ดิน กระจายตัวมากอยูในอําเภอเมืองตาก 194,658 ไร อําเภอแมสอด
                       176,865 ไร และอําเภอพบพระ 64,034 ไร
                                  ระดับที่ 3 เปนพื้นที่ความเหมาะสมเล็กนอย (S3) มีเนื้อที่ 249,182 ไร คิดเปนรอยละ
                       16.45 ของพื้นที่ศักยภาพของที่ดิน กระจายตัวมากอยูในอําเภอบานตาก 51,862 ไร อําเภอสามเงา

                       49,409 ไร และอําเภอแมสอด 47,726 ไร
                                  ระดับที่ 4 เปนพื้นที่ไมเหมาะสม (N) มีเนื้อที่ 516,789 ไร
                               2) การวิเคราะหพื้นที่ปลูกออยโรงงานในปจจุบัน ซึ่งจําแนกตามชั้นความเหมาะสม

                       ของที่ดิน ไดดังนี้
                                  (1) พื้นที่เหมาะสมสูง (S1) มีเนื้อที่ 1,617 ไร คิดเปนรอยละ 4.53 ของพื้นที่ศักยภาพสูง
                       กระจายตัวมากอยูในอําเภอแมสอด 1,299 ไร อําเภอเมืองตาก 134 ไร และอําเภอพบพระ 123 ไร
                                  (2) พื้นที่เหมาะสมปานกลาง (S2) มีเนื้อที่ 68,298 ไร คิดเปนรอยละ 9.57 ของพื้นที่
                       ศักยภาพปานกลาง กระจายตัวมากอยูในอําเภอแมสอด 28,044 ไร อําเภอแมระมาด 18,704 ไร และ

                       อําเภอวังเจา 12,088 ไร
                                  (3) พื้นที่เหมาะสมเล็กนอย (S3) มีเนื้อที่ 10,501 ไร คิดเปนรอยละ 4.21 ของพื้นที่ศักยภาพ
                       เล็กนอย กระจายตัวมากอยูในอําเภอแมสอด 4,550 ไร อําเภอสามเงา 2,766 ไร และอําเภอพบพระ 1,317 ไร

                                  (4) พื้นที่ไมเหมาะสม (N) มีเนื้อที่ 164 ไร
                                3) พื้นที่มีศักยภาพคงเหลือ คือ พื้นที่ที่มีศักยภาพในการปลูกออยโรงงานแตยังไมใชพื้นที่ปลูก
                       พิจารณาจากพื้นที่ศักยภาพของที่ดินสําหรับการปลูกออยโรงงาน และพื้นที่ออยโรงงานในชั้นความ
                       เหมาะสมตาง ๆ (ปลูกจริง) พบวาจังหวัดตากมีพื้นที่ศักยภาพคงเหลือในระดับความเหมาะสมสูง (S1)

                       และความเหมาะสมปานกลาง (S2) รวมทั้งสิ้น 679,133 ไร กระจายอยูทั่วทุกอําเภอ โดยอําเภอที่มี
                       พื้นที่ศักยภาพคงเหลือมากที่สุด ไดแก อําเภอเมืองตาก 205,476 ไร รองลงมา อําเภอแมสอด
                       155,142 ไร อําเภอแมระมาด 75,571 ไร และอําเภอพบพระ 63,685 ไร โดยมีรายละเอียดดังนี้
                                  (1) พื้นที่เหมาะสมสูงคงเหลือ (S1) มีเนื้อที่ 34,064 ไร คิดเปนรอยละ 95.47 ของพื้นที่

                       ศักยภาพสูง พบมากในอําเภอเมืองตาก 12,976 ไร อําเภอแมสอด 6,321 ไร และอําเภออุมผาง 4,834 ไร
                                  (2) พื้นที่เหมาะสมปานกลางคงเหลือ (S2) มีเนื้อที่ 645,069 ไร คิดเปนรอยละ 90.43 ของ
                       พื้นที่ศักยภาพปานกลาง พบมากในอําเภอเมืองตาก 192,500 ไร อําเภอแมสอด 148,821 ไร และ
                       อําเภอแมระมาด 74,375 ไร
   19   20   21   22   23   24   25   26   27   28   29