Page 31 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดตาก
P. 31

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน


                                                               24







                       การเกษตรแบบผสมผสาน เกษตรแมนยําหรือเกษตรทฤษฎีใหม เปนตน และภาครัฐควรใหความรูความ
                       เขาใจกับเกษตรกรโดยแนะนําวาไมควรปรับเปลี่ยนไปปลูกพืชชนิดอื่น หากขาวราคาไมดีและตองการ
                       ปรับเลี่ยนการผลิตควรเปนพืชไร เพื่อในอนาคตยังสามารถกลับมาทํานาไดอีก

                             3) พื้นที่ปลูกขาวที่ไมมีความเหมาะสม (S3 และ N) และปจจุบันเกษตรกรยังคงใชที่ดินปลูก
                       ขาวอยู ประมาณ 150,000 ไร ซึ่งประสบปญหาน้ําทวมซ้ําซาก ขาดน้ํา ผลผลิตต่ํา กระทรวงเกษตรและ

                       สหกรณใหการชวยเหลือเกษตรกรที่ทํากินในพื้นที่นี้ เนื่องจากเปนพื้นที่ไมเหมาะสม โดยสนับสนุน
                       การปรับโครงสรางที่ดิน ปรับปรุงบํารุงดิน สนับสนุนแหลงน้ํา ใหเกษตรกรเลือกปลูกพืชชนิดใหม

                       ที่มีความเหมาะสม และใหผลตอบแทนที่ดีกวา หรือใชพื้นที่ผลิตอาหารเพื่อบริโภคในครัวเรือน หรือ
                       เขาโครงการบริหารจัดการพื้นที่เกษตรกรรม (Zoning by Agri-Map) เปนตน

                             4) พื้นที่ที่มีศักยภาพหรือมีความเหมาะสมสําหรับการปลูกขาว แตปจจุบันเกษตรกรไมได
                       ใชพื้นที่ปลูกขาว โดยมาปลูกพืชชนิดอื่นทดแทน ทั้งนี้หากพืชที่ปลูกเปนพืชไร เชน ออยโรงงาน
                       มันสําปะหลัง ขาวโพดเลี้ยงสัตว เปนตน ในอนาคตขาวราคาดี เกษตรกรอาจกลับมาปลูกขาวได

                       เหมือนเดิม แตหากเปนไมผลหรือไมยืนตน การกลับมาปลูกขาวอาจเปนเรื่องยาก ดังนั้นอาจสงเสริม
                       ในเรื่องของการทําเกษตรรูปแบบอื่น เชน เกษตรผสมผสาน

                           4.3  มันสําปะหลัง

                             1) พื้นที่ปลูกมันสําปะหลังที่มีความเหมาะสมสูง (S1) และปจจุบันยังปลูกมันสําปะหลังอยู
                       มีเนื้อที่ 6,888 ไร มีพื้นที่ปลูกมากในเขตอําเภอวังเจา อําเภอแมสอด อําเภอพบพระ ตามลําดับ

                       ซึ่งตามมาตรการยุทธศาสตรมันสําปะหลัง 2564 - 2567 เนนใหเกษตรกรเขาถึงพันธุมันสําปะหลัง
                       ตานทานโรคใบดาง (Cassava Mosaic Disease: CMD) ใหเชื้อแปงสูง และมีผลผลิตเฉลี่ยตอไรไมต่ํากวา

                       5 ตัน ภายในป 2567 นั้น โดยเนนการเพิ่มผลผลิตมันสําปะหลังและลดตนทุนการผลิตในพื้นที่ที่มี
                       ศักยภาพสูง ดังนั้นในพื้นที่ดังกลาวควรเรงหาแนวทางแกไขปญหาโรคโคนเนาหัวเนา และโรคใบดาง

                       มันสําปะหลัง อีกทั้งควรมีการสงเสริมการทําระบบน้ําหยดในพื้นที่ที่มีศักยภาพ มีการปรับปรุงบํารุงดิน
                       การใสปุยที่ถูกตองและมีประสิทธิภาพ ทําการวิเคราะหคุณภาพดินอยูเสมอ สงเสริมเกษตรกรแปรรูป
                       มันสําปะหลังเบื้องตนเพื่อเพิ่มมูลคา เชน การแปรรูปมันเสนสะอาด สรางความรวมมือระหวาง

                       เกษตรกรและโรงงาน เพื่อวางแผนการขุดของเกษตรกร ประชาสัมพันธใหเกษตรกรเก็บเกี่ยวในชวงอายุ
                       และระยะเวลาที่เหมาะสม ใชทอนพันธุที่ตานทานโรค และใหผลผลิตสูง เขารวมโครงการระบบ

                       สงเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ และสงเสริมใหเกษตรกรเปน Smart Farmer รวมทั้ง
                       ประชาสัมพันธใหเกษตรกรเก็บเกี่ยวในชวงอายุ และระยะเวลาที่เหมาะสม

                             2) พื้นที่ปลูกมันสําปะหลังที่มีความเหมาะสมปานกลาง (S2) และปจจุบันยังปลูกมัน
                       สําปะหลังอยู มีเนื้อที่ 111,286 ไร สวนใหญอยูในเขตอําเภอเมืองตาก อําเภอวังเจา และอําเภอบานตาก

                       ซึ่งเกษตรกรยังคงปลูกมันสําปะหลังไดผลดี หลายแหงประสบปญหาโครงสรางของดินหรือดินดาน ทั้งนี้ควร
                       พัฒนาศักยภาพของพื้นที่ใหมากขึ้น ในเรื่องของคุณภาพดิน และ ทําการตรวจวิเคราะหคุณภาพดินอยูเสมอ
                       สงเสริมใหมีการใสปุยตามคาวิเคราะหดิน ซึ่งอาจตองใชปุยสั่งตัด สรางความรูความเขาใจใหกับเกษตรกร
   26   27   28   29   30   31   32   33   34   35   36