Page 32 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดตาก
P. 32

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน


                                                               25







                       ในการจัดการพื้นที่ การปลูก การดูแลรักษา การปองกันโรค แมลงศัตรูพืช และการเก็บเกี่ยว สงเสริม
                       การใชทอนพันธุที่ตานทานโรค และใหผลผลิตสูง พัฒนาระบบน้ําหยด   และการใชน้ําจากแหลงน้ํา
                       ในพื้นที่ ใหมีการใชประโยชนกับมันสําปะหลังใหมากที่สุด สงเสริมเกษตรกรแปรรูปมันสําปะหลังเบื้องตน

                       เพื่อเพิ่มมูลคา เชน การแปรรูป มันเสนสะอาด ประชาสัมพันธใหเกษตรกรเก็บเกี่ยวในชวงอายุ และ
                       ระยะเวลาที่เหมาะสม

                             3) พื้นที่ปลูกมันสําปะหลังในพื้นที่ไมมีความเหมาะสม (S3 และ N) และปจจุบัน
                       เกษตรกรยังคงใชที่ดินปลูกมันสําปะหลังอยู พื้นที่ดังกลาวประสบปญหาซ้ําซาก เชน น้ําทวม ขาดน้ํา

                       ผลผลิตต่ํา ดังนั้นควรมีการสงเสริมและสรางความรูความเขาใจในการไถระเบิดดินดาน ใหเกษตรกรมี
                       วิธีปองกันและแกไขปญหาที่ลดตนทุน ใหการชวยเหลือเกษตรกรที่เลือกปลูกพืชชนิดใหมที่ให

                       ผลตอบแทนที่ดีกวา หรือใชพื้นที่ผลิตอาหารเพื่อบริโภคในครัวเรือน หรือเขาโครงการบริหารจัดการ
                       พื้นที่เกษตรกรรม (Zoning by Agri-Map) เปนตน ทั้งนี้ควรจัดหาตลาดใหกับเกษตรกรในการปลูกพืช
                       ไร หรือพืชผักทดแทน โดยอาจเริ่มจากตลาดชุมชน

                             4) พื้นที่ที่มีศักยภาพหรือมีความเหมาะสมสําหรับการปลูกมันสําปะหลัง แตปจจุบัน
                       เกษตรกรไมไดใชพื้นที่ปลูกมันสําปะหลัง พบวาเกษตรกรปลูกพืชอื่นทดแทน เชน ขาว ภาครัฐควรใหความรู

                       แกเกษตรกรและสรางแรงจูงใจใหกลับมาปลูกมันสําปะหลังเหมือนเดิม เนื่องจากพื้นที่มีความเหมาะสม
                       ทําใหใชตนทุนการผลิตต่ําและผลผลิตมีคุณภาพดี ทั้งนี้เกษตรกรตองพิจารณาแหลงรับซื้อรวมดวย

                           4.4  ออยโรงงาน

                             1) พื้นที่ปลูกออยโรงงานที่มีความเหมาะสมสูง (S1) และปจจุบันยังปลูกออยโรงงานอยู
                       มีเนื้อที่ 1,617 ไร กระจายตัวอยูในอําเภอแมสอด อําเภอเมืองตาก อําเภอพบพระ  อําเภอวังเจา

                       อําเภอสามเงา และอําเภอแมระมาด ตามแผนยุทธศาสตรสํานักงานคณะกรรมการออยและน้ําตาลทราย
                       พ.ศ. 2560-2564 มียุทธศาสตร สงเสริม สนับสนุนการวิจัย การบริหารจัดการ และการเพิ่ม

                       ประสิทธิภาพ การผลิตอุตสาหกรรม ออยน้ําตาลทราย และอุตสาหกรรม เนนใหมีการเพิ่มผลผลิตออย
                       โรงงานในพื้นที่ที่มีศักยภาพสูง แตเนนการลดตนทุนผลผลิต ทั้งนี้ควรสงเสริมใหเกษตรกรใชปุยอินทรีย
                       แบบคุณภาพสูง มีการเก็บเกี่ยวผลผลิตโดยการรณรงคลดการเผาตอซังเพื่อเพิ่มผลผลิตและลดปญหา

                       ภาวะโลกรอน หนวยงานที่เกี่ยวของคิดคนเทคโนโลยีการเก็บเกี่ยวโดยใชเครื่องจักรเพื่อลดปญหา
                       แรงงาน สงเสริมใหเกษตรกรรวมกลุมและเขารวมโครงการเกษตรแปลงใหญ จัดหาปจจัยการผลิต

                       ใหกับเกษตรกร และอบรมใหความรูแกเกษตรกรที่มีการปรับปรุงบํารุงดินโดยลดตนทุนการผลิต
                       สงเสริมใหมีการปลูกออยโรงงานที่มีสายพันธุตานทานโรค สรางความตระหนักและความรูความเขาใจ

                       ใหกับเกษตรกรที่มีพื้นที่ที่มีความเหมาะสมสูง ในการปลูกออยโรงงาน เพื่อแกไขปญหาการปรับเปลี่ยนพื้นที่
                              2) พื้นที่ปลูกออยโรงงานที่มีความเหมาะสมปานกลาง (S2) และปจจุบันยังปลูกออย

                       โรงงานอยู มีเนื้อที่ 68,298 ไร กระจายตัวอยูในทุกอําเภอของจังหวัดตาก ปลูกมากในเขตอําเภอแม
                       สอด อําเภอแมระมาด และอําเภอวังเจา เกษตรกรยังคงปลูกออยโรงงานไดผลดี หลายแหงประสบ
                       ปญหาขาดน้ําในบางชวงของการเพาะปลูก ดังนั้นควรมีการพัฒนาศักยภาพของพื้นที่ใหมากขึ้น
   27   28   29   30   31   32   33   34   35   36   37