Page 27 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดตาก
P. 27
ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
20
เมื่อวิเคราะหขอมูลศักยภาพพื้นที่รวมกับพื้นที่ปลูกพืชในปจจุบัน พบวาพื้นที่ที่ควรพิจารณา
ใหมีการปรับเปลี่ยนไปปลูกออยโรงงาน คือ บริเวณที่เปนพื้นที่ปลูกขาว (S3+N) 110,104 ไร
(ตารางที่ 10)
ตารางที่ 10 พื้นที่ศักยภาพในการขยายการผลิตออยโรงงาน
ขาว
อําเภอ
S3 N รวม
ทาสองยาง 1,279 36 1,315
บานตาก 10,121 115 10,236
พบพระ 4,800 672 5,472
เมืองตาก 36,308 554 36,862
แมระมาด 6,212 3,441 9,653
แมสอด 32,683 2,094 34,777
วังเจา 200 12 212
สามเงา 10,027 25 10,052
อุมผาง 470 1,055 1,525
รวม 102,100 8,004 110,104
4) แนวทางการจัดการ
(1) พื้นที่ที่มีความเหมาะสมควรสงเสริมการผลิต (S1 หรือ S2) ควรสนับสนุนใหเกษตรกร
ปลูกออยโรงงานตอไป เนื่องจากเปนพื้นที่ที่เหมาะสม สามารถชวยลดตนทุนการผลิตและไดผลผลิตที่
มีคุณภาพดี ซึ่งการปลูกออยโรงงานในพื้นที่ดังกลาวขางตนสามารถนําไปสูการตอยอดโครงการที่สําคัญตาง ๆ
ได เชน เกษตรอินทรีย ระบบสงเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ เกษตรแมนยํา เปนตน
พื้นที่ปลูกออยโรงงานในบริเวณที่มีความเหมาะสมสูง (S1) คือพื้นที่ปลูกออยโรงงาน
ในที่ดินที่ไมมีขอจํากัดทางกายภาพตอการปลูกออยโรงงาน ซึ่งควรสงวนไวเปนแหลงปลูกออยโรงงาน
ที่สําคัญของจังหวัด กระจายอยูในอําเภอแมสอด อําเภอเมืองตาก และอําเภอพบพระ
พื้นที่ปลูกออยโรงงานในบริเวณที่มีความเหมาะสมปานกลาง (S2) คือพื้นที่ออยโรงงาน
ในที่ดินที่มีขอจํากัดทางกายภาพบางประการตอการปลูกออยโรงงาน เชน ความอุดมสมบูรณของดิน
ความเปนกรดเปนดางและแหลงน้ํา กระจายอยูในอําเภอแมสอด อําเภอแมระมาด และอําเภอวังเจา
(2) พื้นที่ที่ควรปรับเปลี่ยนการผลิตในพื้นที่ไมเหมาะสม (S3 หรือ N) ควรสนับสนุนให
เขาโครงการปรับเปลี่ยนการผลิต เชน เปลี่ยนชนิดพืชที่มีความเหมาะสมกวาการปลูกออยโรงงาน
มีตนทุนที่ต่ํา และใหผลตอบแทนที่ดีกวา เปนตน แตทั้งนี้ตองพิจารณาแหลงรับซื้อรวมดวย