Page 23 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดตาก
P. 23

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน


                                                               16







                                 เมื่อวิเคราะหขอมูลศักยภาพพื้นที่รวมกับพื้นที่ปลูกพืชในปจจุบัน พบวาพื้นที่ที่ควรสงเสริม
                       ใหมีการปรับเปลี่ยนไปปลูกมันสําปะหลัง คือ บริเวณที่เปนพื้นที่ปลูกขาว (S3+N) 11,818 ไร และ
                       พื้นที่ปลูกลําไย (S3+N) 5,081 ไร (ตารางที่ 8)

                       ตารางที่ 8 พื้นที่ศักยภาพในการขยายการผลิตมันสําปะหลัง

                                                     ขาว                              ลําไย
                           อําเภอ
                                         S3            N        รวม         S3          N         รวม

                         ทาสองยาง       1,279         36        1,315          -          -           -
                         บานตาก        10,121       1,032      11,153        11            -        11

                         พบพระ           4,457        577        5,034          -          -           -
                         เมืองตาก       36,307        994       37,301          -         79         79

                         แมระมาด        6,212       3,441       9,653          -           -          -
                         แมสอด         31,839       1,906      33,745          -          -           -

                         วังเจา           200       3,297       3,497        10        5,002      5,012
                         สามเงา         10,027         24       10,051          -           -          -

                         อุมผาง            20         49           69          -           -          -
                            รวม        100,462     11,356      111,818        21        5,081      5,102



                             4) แนวทางการจัดการ
                               (1) พื้นที่ที่มีความเหมาะสมควรสงเสริมการผลิต (S1 หรือ S2) ควรสนับสนุนใหเกษตรกร

                       ปลูกตอไป เนื่องจากเปนพื้นที่ที่เหมาะสม สามารถชวยลดตนทุนการผลิตและไดผลผลิตที่มีคุณภาพดี
                       ซึ่งการปลูกมันสําปะหลังในพื้นที่ดังกลาวขางตนสามารถนําไปสูการตอยอดโครงการที่สําคัญตาง ๆ ได
                       เชน เกษตรอินทรีย ระบบสงเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ เกษตรแมนยํา เปนตน
                                 พื้นที่ปลูกมันสําปะหลังในบริเวณที่มีความเหมาะสมสูง (S1) คือพื้นที่ปลูกมันสําปะหลัง

                       ในที่ดินที่ไมมีขอจํากัดทางกายภาพตอการปลูกมันสําปะหลังซึ่งควรสงวนไวเปนแหลงปลูกมันสําปะหลัง
                       ที่สําคัญของจังหวัด กระจายอยูในอําเภอวังเจา อําเภอแมสอด และอําเภอพบพระ
                                 พื้นที่ปลูกมันสําปะหลังในบริเวณที่มีความเหมาะสมปานกลาง (S2) คือพื้นที่ปลูก

                       มันสําปะหลังในที่ดินที่มีขอจํากัดทางกายภาพบางประการตอการปลูกมันสําปะหลัง เชน ความอุดม
                       สมบูรณของดิน ความเปนกรดเปนดางและแหลงน้ํา กระจายอยูในอําเภอเมืองตาก อําเภอวังเจา และ
                       อําเภอบานตาก
                               (2) พื้นที่ที่ควรปรับเปลี่ยนการผลิตในพื้นที่ไมเหมาะสม (S3 หรือ N) ควรสนับสนุนให
                       เขาโครงการปรับเปลี่ยนการผลิต เชน เปลี่ยนชนิดพืชที่มีความเหมาะสมกวาการปลูกมันสําปะหลัง

                       มีตนทุนที่ต่ํา และใหผลตอบแทนที่ดีกวา แตทั้งนี้ตองพิจารณาแหลงรับซื้อรวมดวย
   18   19   20   21   22   23   24   25   26   27   28