Page 29 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดตาก
P. 29

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน


                                                               22







                       ใหเกษตรกรผูปลูกพืชสมุนไพร มีรายไดและความมั่นคงในการดํารงชีพจากฐานขอมูล Agri-Map Online
                       จังหวัดตากมีพื้นที่ศักยภาพที่สามารถสงเสริมใหปลูกพืชสมุนไพรไดหลายชนิด เชน กระชายดํา
                       ขมิ้นชัน บัวบก เปนตน
                             กระชายดํา เปนพืชที่ชอบที่รม ดินรวนซุยหรือดินปนทรายที่มีการระบายน้ําไดดี ชอบ

                       อากาศหนาวเย็น เกษตรกรสามารถปลูกกระชายดําแซมในสวนเปนการใชพื้นที่ใหเกิดประโยชน และมี
                       รายไดระหวางรอพืชเศรษฐกิจหลักใหผลผลิต โดยพื้นที่จังหวัดตากมีพื้นที่ศักยภาพในการปลูกกระชาย
                       ดําระดับความเหมาะสมสูง (S1) ประมาณ 14,245 ไร กระจายอยูในอําเภออุมผาง อําเภอแมสอด และ
                       อําเภอพบพระ

                                    ขมิ้นชัน เปนพืชปลูกงาย ชอบแสงแดดจัด และมีความชื้นสูง ชอบดินรวนซุย มีการระบายน้ําดี

                       ไมชอบน้ําขัง เกษตรกรสามารถปลูกขมิ้นชันแซมในสวนเปนการใชพื้นที่ใหเกิดประโยชน และมีรายได
                       ระหวางรอการเติบโตของยางพาราหรือลําไย โดยพื้นที่จังหวัดตากมีพื้นที่ศักยภาพในการปลูกขมิ้นชัน
                       ที่ระดับความเหมาะสมสูง (S1) ประมาณ 214,332 ไร กระจายอยูในอําเภอแมสอด อําเภอแมระมาด

                       อําเภอพบพระ อําเภอวังเจา อําเภอทาสองยาง และอําเภออุมผาง
                             บัวบก เปนพืชลมลุกขนาดเล็ก มีอายุหลายป ปลูกงายเลื้อยยาวไปตามดิน แตกรากตามขอใบ

                       ชอบขึ้นในพื้นที่ที่ชื่นแตไมแฉะมากหรือน้ําทวมขัง โดยมากจะขึ้นตามใตตนไมใหญหรือทองรองในสวน
                       และตามคันนา ขยายพันธุโดยการเพาะเมล็ดหรือตัดแยกไหลที่มีตนออนและราก นําไปปลูกในที่ที่มี
                       แสงแดดพอควรก็จะเจริญเติบโตไดดี โดยพื้นที่จังหวัดตากมีพื้นที่ศักยภาพในการปลูกบัวบกที่ระดับ

                       ความเหมาะสมสูง (S1) ประมาณ 27,701 ไร กระจายอยูในอําเภอแมสอด อําเภออุมผาง อําเภอเมืองตาก
                       อําเภอบานตาก อําเภอพบพระ อําเภอแมระมาด อําเภอสามเงา และอําเภอวังเจา


                       4. แนวทางการสงเสริมการปลูกพืชเศรษฐกิจ

                         4.1  ขาวโพดเลี้ยงสัตว
                             1) พื้นที่ปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตวที่มีความเหมาะสมสูง (S1) และปจจุบันยังปลูกขาวโพดเลี้ยง

                       สัตวอยู มีเนื้อที่ 36,654 ไร มีพื้นที่ปลูกมากในเขตอําเภอแมสอด อําเภอพบพระ อําเภอแมระมาด
                       ตามลําดับ ทั้งนี้โดยคณะอนุกรรมการพัฒนาที่ดินจังหวัดสมควรใหมีการเสนอแผนการใชที่ดินเพื่อ

                       สงวนใหเปนแหลงปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตวที่สําคัญของจังหวัด และมีการบริหารจัดการระบบน้ํา การ
                       จัดการดิน ปุย พันธุขาวโพดเลี้ยงสัตว โดยรวมกลุมเปนเกษตรแปลงใหญ พัฒนาตอยอดครบวงจร

                       การตลาดในและตางประเทศ การแปรรูป แหลงทุน มีภาครัฐสนับสนุนการทํามาตรฐานสินคาเกษตร
                       อินทรีย และการปฏิบัติทางการเกษตรที่ดี (Good Agricultural Practices: GAP) และเนื่องจากเปนพื้นที่
                       ศักยภาพสูง ภาครัฐควรใหความรูความเขาใจกับเกษตรกรโดยแนะนําวาไมควรปรับเปลี่ยนไปปลูกพืช

                       ชนิดอื่น หากราคาไมดีหรือประสบปญหาโรค แมลงรบกวน และเกษตรกรตองการเปลี่ยนชนิดพืชควร
                       เปลี่ยนเปนพืชไร เพื่อในอนาคตจะไดกลับมาปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตวไดอีก

                             2) พื้นที่ปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตวที่มีความเหมาะสมปานกลาง (S2) และปจจุบันยังปลูก
                       ขาวโพดเลี้ยงสัตวอยู มีเนื้อที่ 123,366 ไร สวนใหญอยูในเขตอําเภอแมสอด อําเภอแมระมาด
   24   25   26   27   28   29   30   31   32   33   34