Page 30 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดตาก
P. 30

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน


                                                               23







                       อําเภอพบพระ เกษตรกรยังคงปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตวไดผลดี หลายแหงประสบปญหาโครงสรางของ
                       ดิน ในพื้นที่ดังกลาวควรสนับสนุนดานการบริหารจัดการระบบน้ํา เชน ชลประทาน จะสรางความ
                       มั่นใจใหกับเกษตรกรในการใชที่ดิน ปญหาการทิ้งถิ่นฐานไปทํางานที่อื่นจะลดลง และพื้นที่ในเขตนี้มี

                       ความเหมาะสมสําหรับการเกษตรแบบผสมผสาน เกษตรแมนยําหรือเกษตรทฤษฎีใหม เปนตน และ
                       ภาครัฐควรใหความรูความเขาใจกับเกษตรกรโดยแนะนําวาไมควรปรับเปลี่ยนไปปลูกพืชชนิดอื่น ทั้งนี้หาก

                       ขาวโพดเลี้ยงสัตวราคาไมดีและตองการปรับเลี่ยนการผลิตควรเปนพืชไร เพื่อในอนาคตยังสามารถ
                       กลับมาปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตวไดอีก

                             3) พื้นที่ปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตวในพื้นที่ไมมีความเหมาะสม (S3 และ N) และปจจุบัน
                       เกษตรกรยังคงใชที่ดินปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตวอยู พื้นที่ดังกลาวประสบปญหาซ้ําซาก เชน น้ําทวม ขาดน้ํา

                       ผลผลิตต่ํา ดังนั้นควรใหการชวยเหลือเกษตรกรที่ทํากินในพื้นที่นี้ โดยสนับสนุนการปรับโครงสราง
                       ที่ดิน ปรับปรุงบํารุงดิน สนับสนุนแหลงน้ํา ใหเกษตรกรเลือกปลูกพืชชนิดใหมที่มีความเหมาะสม และ
                       ใหผลตอบแทนที่ดีกวา หรือใชพื้นที่ผลิตอาหารเพื่อบริโภคในครัวเรือน หรือหรือเขาโครงการบริหาร

                       จัดการพื้นที่เกษตรกรรม (Zoning by Agri-Map) เปนตน
                             4) พื้นที่ที่มีศักยภาพหรือมีความเหมาะสมสําหรับการปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตว แตปจจุบัน

                       เกษตรกรไมไดใชพื้นที่ปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตว พบวาเกษตรกรปลูกพืชอื่นทดแทน ทั้งนี้หากพืชที่ปลูกเปน
                       พืชไร เชน ขาว ถาในอนาคตขาวโพดเลี้ยงสัตวราคาดี เกษตรกรอาจกลับมาปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตวได

                       เหมือนเดิม แตหากเปนไมผลหรือไมยืนตน การกลับมาปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตวอาจเปนเรื่องยาก ดังนั้น
                       อาจสงเสริมในเรื่องของการทําเกษตรรูปแบบอื่น เชน ทําการเกษตรแบบผสมผสาน แตทั้งนี้ตอง

                       พิจารณาตนทุนการผลิตและการตลาดรวมดวย

                         4.2  ขาว
                             1) พื้นที่ปลูกขาวที่มีความเหมาะสมสูง (S1) และปจจุบันยังปลูกขาวอยู มีเนื้อที่ 32,012 ไร

                       มีพื้นที่ปลูกมากในเขตอําเภอบานตาก อําเภอเมืองตาก และอําเภอแมสอด ตั้งอยูในเขตชลประทาน
                       ทั้งนี้คณะอนุกรรมการพัฒนาที่ดินจังหวัดสมควรใหมีการเสนอแผนการใชที่ดินเพื่อสงวนใหเปนแหลง
                       ผลิตขาวที่สําคัญของจังหวัด และมีการบริหารจัดการน้ําชลประทาน การจัดการดิน ปุย พันธุขาว

                       โดยรวมกลุมเปนเกษตรแปลงใหญ พัฒนาตอยอดครบวงจรการตลาดในและตางประเทศการแปรรูป
                       แหลงทุน มีภาครัฐสนับสนุนการทํามาตรฐานสินคาเกษตรอินทรีย และการปฏิบัติทางการเกษตรที่ดี

                       (Good Agricultural Practices: GAP) และเนื่องจากเปนพื้นที่ศักยภาพสูง การปลูกพืชหลังนาจะชวยให
                       เกษตรกรมีรายไดเพิ่มขึ้น และเปนการปรับปรุงบํารุงดิน

                             2) พื้นที่ปลูกขาวที่มีความเหมาะสมปานกลาง (S2) และปจจุบันยังปลูกขาวอยู มีเนื้อที่
                       42,996 ไร มีพื้นที่ปลูกมากในเขตอําเภอแมระมาด อําเภอแมสอด และอําเภอวังเจา เปนพื้นที่ปลูกขาว

                       ที่มีขอจํากัดไมมากนัก เกษตรกรยังคงปลูกขาวไดผลดี หลายแหงประสบปญหาขาดน้ําในบางชวงของการ
                       เพาะปลูก ควรสนับสนุนดานการบริหารจัดการน้ํา เชน ชลประทาน จะสรางความมั่นใจใหกับเกษตรกร
                       ในการใชที่ดิน ปญหาการทิ้งถิ่นฐานไปทํางานที่อื่นจะลดลง และพื้นที่ในเขตนี้มีความเหมาะสมสําหรับ
   25   26   27   28   29   30   31   32   33   34   35