Page 12 - ผลของเถ้าไม้ยางพาราต่อความเป็นประโยชน์ของธาตุอาหารพืชในดินกรดเพื่อการปลูกอ้อยคั้นน้ำ Effect of rubber wood ash to nutrient profitability in acids soil for juicing sugarcane.
P. 12

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                              7


                  ตรึงไนโตรเจนของปมถั่ว(จําเปน,๒๕๓๙) หากธาตุอาหารพืชพวกฟอสฟอรัส แคลเซียม แมกนีเซียมและโม
                  ลิบดินัม อยูในสภาวะที่ละลายออกมาเปนประโยชนตอพืชไดนอยพืชอาจจะแสดงอาการขาดธาตุอาหารได

                  (กรมวิชาการเกษตร, 2543) แมงกานีสเปนธาตุที่สามารถละลายไดดีมากในดินที่มี pH  ต่ํากวา 5.5 และ
                  จัดเปนธาตุอาหารพืชที่มีความจําเปนตอการเจริญเติบโตของพืช แตหากมีในปริมาณสูงจะกอใหเกิดความ
                  เปนพิษตอพืชที่ปลูกได ความเขมขนของแมงกานีสในดินที่เหมาะสมควรอยูระหวาง 1-4  ppm  ถามีใน
                  ปริมาณที่ต่ําหรือสูงกวาจะเกิดอาการขาดหรือเปนพิษเมื่อ pH ต่ํากวา 5.5 มักเกิดความเปนพิษของ

                  แมงกานีสตอพืช ธาตุเหล็กพบเปนสารประกอบจํานวนมากในดินกรด ธาตุเหล็กจะเริ่มเปลี่ยนไปอยูในรูปที่
                  ไมเปนประโยชนตอพืช เมื่อ  pH ของดินสูงกวา 6.0 และเมื่อ pH ของดินลดลงเหล็กจะสามารถละลายน้ํา
                  ออกมาเปนประโยชนตอพืชไดมากขึ้นโดยเฉพาะในชวงที่ pH  ต่ํากวา 5.0 ความเขมขนของเหล็กจะเพิ่ม

                  สูงขึ้น แตหากที่มีระดับของเหล็กในดินสูงมากถึงสูงมากเกิน การเพิ่มปริมาณเหล็กในรูปที่แลกเปลี่ยนได
                  และละลายไดจะเปนอันตรายแกพืชที่ปลูกไดระดับความเปนพิษของธาตุเหล็กตอพืชนั้น สําหรับธาตุ
                  โพแทสเซียมในสภาพดินกรดจะสลายตัวไดเร็วยิ่งขึ้น โดยปจจัยที่มีอิทธิพลตอการตรึงโพแทสเซียม คือชนิด
                  ของสารคอลลอยดดิน ดินที่มีดินเหนียวประเภท 1:1 ชนิด Kaolinite  เปนองคประกอบอยูมาก จะตรึง
                  โพแทสเซียมไวนอย แตประเภท 2:1 ชนิด vermiculite และ illite  จะตรึงโพแทสเซียมไดมาก สําหรับธาตุ

                  ฟอสฟอรัสโดยทั่วไปดินที่มีออกไซดของเหล็กและอะลูมินั่มอยูสูง จะยิ่งทําใหดินมีความสามารถในการตรึง
                  ฟอสฟอรัสไดสูงตามไปดวย และยังปรากฎอีกดวยวาปริมาณ exch.Al สูงดินก็จะมีความจุในการตรึง
                  ฟอสฟอรัสสูงตามไปดวย (เจริญและคณะ, 2540) การใชปุยชีวภาพจะชวยสงเสริมสมบัติทางกายภาพ ทํา

                  ใหดินเหนียว มีความรวนซุย ระบายน้ํา อากาศไดดีขึ้น ปรับสภาพทางเคมีโดยลดความเปนกรดเปนดางของ
                  ดิน ลดความเปนพิษของโลหะหนัก ชวยปลดปลอยธาตุอาหารใหเปนประโยชนตอพืช ชวยเก็บธาตุอาหารไว
                  ในดิน และดินที่มีอินทรียวัตถุมากพอจะตานทานการชะลางพังทลายของดินได (กรมวิชาการเกษตร, 2551)


                         กลุมชุดดินที่ 6 เนื้อดินเปนดินเหนียว ดินบนมีสีเทาแก ดินลางมีสีน้ําตาลปนเทาหรือสีเทา มีจุด
                  ประสีน้ําตาลหรือสีแดงตลอดชั้นดินบางแหงมีศิลาแลงออน หรือกอนสารเคมีพวกเหล็กและแมงกานีสปะปน

                  อยูดวย กลุมดินนี้เกิดจาก พวกตะกอนลําน้ําเปนดินลึกมาก มีการระบายน้ําเลวพบตามที่ราบ ตั้งแตที่ราบ
                  น้ําทวมถึงลานตะพักลําน้ําระดับต่ํา น้ําแชขัง 30-50  ซม. นาน 3  -5  เดือน ดินมีความอุดมสมบูรณตาม
                  ธรรมชาติต่ําหรือคอนขางต่ํา pH  4.5-5.5   ปจจุบันบริเวณดังกลาวสวนใหญใชทํานา หรือปลูกพืชลมลุก
                  ในชวงฤดูแลง สําหรับในบริเวณพื้นที่ที่มีน้ําชลประทานเขาถึงหรือมีแหลงน้ําธรรมชาติ สามารถใชปลูกไมยืน

                  ตน ไมผล หรือปลูกพืชไร และพืชผัก ตลอดทั้งปจะตองทําคันดินลอมรอบพื้นที่เพาะปลูกและยกรองปลูก
                  เพื่อชวยการระบายน้ําของดิน (กรมพัฒนาที่ดิน, 2548)
                  ชุดดินพัทลุง (Phattalung series :Pti) จัดอยูใน fine,kaolinitic,isohyperthemic isohyperthermic

                  Plinthic  Paleaquults   เกิดจากตะกอนน้ําพามาทับถมอยูบนตะพักลําน้ําเกา สภาพพื้นที่ที่พบมีลักษณะ
                  ราบเรียบมีความลาดชัน 0-2 % ชุดดินนี้ลึกมาก มีการระบายน้ําเลว การไหลบาของน้ําบนผิวดินชา การซึม
                  ผานไดของน้ําชา พืชพรรณธรรมชาติและการใชประโยชนที่ดิน ใชทํานา  การแพรกระจาย บริเวณที่ลุมต่ํา

                  ถัดจากที่ราบลุมน้ําทะเลเคยทวมถึงในภาคใต  การจัดเรียงชั้น Apg-Bg-Btgv  ลักษณะและสมบัติดิน เปน
                  ดินลึกมาก ดินบนมีเนื้อดินเปนดินรวนถึงดินรวนปนดินเหนียว มีสีน้ําตาลถึงสีน้ําตาลปนเทา ดินลางมีเนื้อ
                  ดินเปนรวนปนดินเหนียวทับอยูบนดินเหนียว ดินเหนียวปนทรายแปง มีสีเทา มีจุดประสีน้ําตาล สีเหลือง
                  และสีแดง มีศิลาแลงออน (plinthite) ปริมาณ 5-50 % ภายในความลึก 150 ซม. จากผิวดิน ปฏิกิริยาดิน
                  เปนกรดจัดมากถึงกรดจัด (pH 5.0-6.5) ตลอดหนาตัดดิน ชุดดินที่คลายคลึงกัน ชุดดินบางนารา ชุดดิน3

                  แกลง  ขอจํากัดการใชประโยชนที่ดิน ความอุดมสมบูรณของดินต่ํา  ขอเสนอแนะในการใชประโยชนที่ดิน
   7   8   9   10   11   12   13   14   15   16   17