Page 13 - ผลของเถ้าไม้ยางพาราต่อความเป็นประโยชน์ของธาตุอาหารพืชในดินกรดเพื่อการปลูกอ้อยคั้นน้ำ Effect of rubber wood ash to nutrient profitability in acids soil for juicing sugarcane.
P. 13

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                               8


                  เปนดินที่เหมาะสมตอการทํานาแตเนื่องจากดินนี้มีความอุดมสมบูรณของดินต่ํา จึงจําเปนตองมีการใช

                  ปุยเคมีเพื่อเพิ่มความอุดมสมบูรณของดิน ชุดดินนี้พบเปนบริเวณกวางใหญในภาคใต ถาหากมีการ
                  ชลประทาน ที่ดีจะเปนแหลงผลิตขาวที่ใหญที่สุดในภาคใต ชุดดินที่คลายคลึงกัน ชุดดินบางนารา ชุดดิน
                  แกลง ขอจํากัดการใชประโยชนที่ดิน ความอุดมสมบูรณของดินต่ํา  ขอเสนอแนะในการใชประโยชนที่ดิน
                  เปนดินที่เหมาะสมตอการทํานาแตเนื่องจากดินนี้มีความอุดมสมบูรณของดินต่ํา จึงจําเปนตองมีการใช

                  ปุยเคมีเพื่อเพิ่มความอุดมสมบูรณของดิน ชุดดินนี้พบเปนบริเวณกวางใหญในภาคใต ถาหากมีการ
                  ชลประทานที่ดีจะเปนแหลงผลิตขาวที่ใหญที่สุดในภาคใต(วุฒิชาติ, 2550)

                  ตารางที่ 1 ระดับความอุดมสมบูรณของดินชุดดินพัทลุง

                   ความลึก   อินทรียวัตถุ   ความจุแลกเปลี่ยน  ความอิ่มตัว   ฟอสฟอรัสที่  โพแทสเซียมที่  ความอุดม
                    (ซม.)                  แคตไอออน         ของเบส     เปนประโยชน   เปนประโยชน   สมบูรณของดิน

                    0-25     ปานกลาง           ต่ํา        ปานกลาง         ต่ํา           ต่ํา           ต่ํา
                   25-50     ปานกลาง           ต่ํา           ต่ํา         ต่ํา           ต่ํา           ต่ํา
                   50-100    ปานกลาง           ต่ํา           ต่ํา         ต่ํา           ต่ํา           ต่ํา
                  (สํานักสํารวจดินและวางแผนการใชที่ดิน, 2548)
                         ออยคั้นน้ํา (Sugarcane juice) มีชื่อวิทยาศาสตร Saccharum officinarum L.  เปนพืชวงศ

                  POACEAE (Grimnceae) วงศเดียวกับ ไผ หญาและธัญพืช เชน ขาว ขาวสาลี ขาวโพดและขาวบารเลย มี
                  ถิ่นกําเนิดในเขตรอนของทวีปเอเชีย ในลําตนออยที่นํามาใชทําน้ําตาลมีปริมาณซูโครสประมาณ 17 - 35
                  เปอรเซ็นต ชานออย (bagasse) ที่บีบเอาน้ําออยออกไปแลว สามารถนํามาใชทํากระดาษ พลาสติก เปน
                  เชื้อเพลิง และอาหารสัตว สวนกากน้ําตาล (molasses) ที่แยกออกจากน้ําตาลในระหวางการผลิต สามารถ

                  นําไปหมักเปนเหลารัม (rum) ไดอีกดวย ออยเปนพืชชนิดหนึ่งที่มีความสําคัญมากเมื่อพิจารณาในแงของ
                  ผลผลิต เพราะออยสามารถใชปจจัยการผลิตสําหรับการเจริญเติบโต เชน แสงแดด น้ํา อากาศ และธาตุ
                  อาหารไดอยางมีประสิทธิภาพ นอกจากนี้ยังเปนพืชที่ปลูกงาย และเมื่อปลูกครั้งหนึ่งแลว สามารถเก็บเกี่ยว
                  ไดหลายครั้ง ออยชอบอากาศรอนและชุมชื้น ดังนั้นประเทศที่ปลูกออย ซึ่งมีประมาณ 70 ประเทศ จึงอยูใน

                  แถบรอนและชุมชื้นในระหวางเสนรุงที่ 35 องศาเหนือ และ 35 องศาใต ประเทศผูปลูกออยที่สําคัญ ไดแก
                  บราซิล คิวบา และอินเดีย
                         ออยเปนไมลมลุก สูงประมาณ 2.5 เมตร และมีเสนผานศูนยกลาง 2.5 - 5.0 เซนติเมตร แตกกอ

                  แนน ลําตนสีมวงแดงตั้งหรือมีโคนทอดเอน มีไขสีขาวปกคลุม ไมแตกกิ่งกาน ลําตนประกอบดวยขอและ
                  ปลองรวมเรียกวา ปลอง ปลองมีหลายแบบขึ้นกับพันธุ เชน ทรงกระบอก ทรงมัดขาวตม ทรงกลางคอด
                  โคนใหญ โคนเล็ก หรือโคง เปนตน ใบเดี่ยว เรียงสลับเปน 2 แถว กวาง 2.5 - 5 เซนติเมตร ยาว 0.5 - 1
                  เมตร ใบตั้งหรือทอดโคง ใบรูปใบหอกแกมรูปแถบ ขอบใบมีหนามเล็กๆ ดอกออยเกิดเปนชอที่ยอดของลํา
                  ตน มีลักษณะคลายหัวลูกศร (arrow) ชอดอกออยเปนแบบ open-branched panicle  ชอดอกประกอบ

                  แกนกลาง (main axis) กานแขนงใหญ ซึ่งแยกออกจากแกนกลาง และกานแขนงรอง ซึ่งแยกออกจากกาน
                  แขนงใหญแลวจึงจะถึงตัวดอก ชอแยกแขนง รูปปรามิด เปราะ ชอดอกยอยรูปใบหอกถึงรูปใบหอกแกมรูป
                  ขอบขนาน มีขนสีขาวปกคลุม ดอกเปนดอกสมบูรณเพศ เมล็ดออยเปนผลชนิด caryopsis คลายเมล็ดขาว

                  แตมีขนาดเล็กมาก อยูติดแนนอยูกับสวนของดอก มีชื่อเรียกเฉพาะวา fuzz หรือ fluff เมล็ดเหลานี้ถาเพาะ
                  ในสภาพแวดลอมที่เหมาะสมก็จะงอกเปนตนออยใหมได (ชูศักดิ์, 2546)
                         ลักษณะสภาพพื้นที่ที่เหมาะสมควรเปนที่ดอน หรือที่ลุมไมมีน้ําทวมขัง มีความสูงจาก
                  ระดับน้ําทะเลไมเกิน 1,500 เมตร มีความลาดเอียงไมเกิน 3 เปอรเซ็นต หางไกลจากแหลงมลพิษ และการ

                  คมนาคมสะดวก สามารถนําผลผลิตออกสูตลาดไดรวดเร็ว ออยคั้นน้ําสามารถเจริญเติบโตไดดีในดินรวน
   8   9   10   11   12   13   14   15   16   17   18