Page 15 - ผลของเถ้าไม้ยางพาราต่อความเป็นประโยชน์ของธาตุอาหารพืชในดินกรดเพื่อการปลูกอ้อยคั้นน้ำ Effect of rubber wood ash to nutrient profitability in acids soil for juicing sugarcane.
P. 15

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                              10


                  ลดการเกิดโรครากเนา โคนเนาของพืชและควบคุมปริมาณกรดอินทรีย กาซคารบอนไดออกไซด ความ
                  เขมขนของเหล็ก อะลูมินั่มตลอดจนสารพิษตางๆเชน ไพไรตและไฮโดรเจนซัลไฟดในสารละลายดิน มิใหมี

                  การสะสมมากเกินไปจนเปนพิษ มีคา CCE อยูระหวาง 60-100% และปูนโดโลไมทที่ใชในการปรับปรุงดิน
                  ควรมีคา CCE ไมต่ํากวา 90% (เจริญและคณะ, 2542)
                         เถาไมยางพารา (rubber  wood ash)  เปนผลิตภัณฑพลอยไดจากการเผาเศษไมปกไม และขี้
                  เลื่อยไมยางพาราที่เหลือทิ้งจากโรงเลื่อย โรงงานเฟอรนิเจอรโดยทําการเผาที่อุณหภูมิสูง (1,000 องศา

                  เซลเซียส) เพื่อใชเปนเชื้อเพลิงในการผลิตกระแสไฟฟา เถาจากการเผาที่เกิดขึ้นเรียกวา “เถาลอย (fly
                  ash)”  ซึ่งเกิดจากกระบวนการเผาไหมที่ไมสมบูรณและมีปริมาณสูงถึงรอยละ 80-85 ของเถาที่เกิดขึ้น
                  ทั้งหมด เถาชนิดนี้มีน้ําหนักเบาและมีขนาดเล็กประมาณ 1-200 ไมโครเมตร ขี้เถา เปนวัสดุเหลือใชและ

                  เปนมลพิษ ถานําไปทําลายโดยการฝงกลบจะทําใหดินบริเวณนั้นเสียเพราะเถามีฤทธิ์เปนดาง (มหาวิทยาลัย
                  ราชภัฏยะลา, 2554)
                  ตารางที่ 3 ผลวิเคราะหวัสดุปรับปรุงดิน (ไมยางพารา)

                   วัสดุปรับปรุงดิน   ความเปนกรด  การนําไฟฟา   อินทรียวัตถุ   ไนโตรเจน   ฟอสฟอรัส  โพแทสเซียม   C/N
                                    เปนดางpH   EC (dS/m)    (OM %)      Total N    P2O5 (%)    K2O (%)    ratio
                  เถาไมยางพารา      10.8         7.34         8.93        0.24       1.56       5.18      21.58
                         ที่มา : กลุมวิเคราะหดิน สํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 12, 2558


                                                     สถานที่ทําการทดลอง
                         บานหนองอน หมู 4 ตําบลกําแพงเพชร อําเภอรัตภูมิ จังหวัดสงขลา

                                                     ระยะเวลาทําการวิจัย
                         เริ่มตนเดือน  ตุลาคม   2561    สิ้นสุดเดือน  กันยายน   2563   (ระยะเวลา 2 ป)


                                                      อุปกรณและวิธีการ
                  อุปกรณประกอบดวย
                           1.   ตนพันธุออย
                           2.   สารเคมี  เครื่องแกว  อุปกรณและเครื่องมือในการวิเคราะหสมบัติทางเคมีของดิน

                           3.   วัสดุและอุปกรณที่ใชในภาคสนามที่จําเปนในการปลูกออยคั้นน้ํา  วัสดุสําหรับผลิตปุย
                           อินทรียคุณภาพสูง   และวัสดุการเกษตรอื่นๆที่จําเปนในการทดลอง

                                                     วิธีการดําเนินการวิจัย

                          วางแผนการทดลองแบบRCBD  (Randomized  Complete  Block  Design)  จํานวน 3 ซ้ํา 8
                  ตํารับการทดลอง คือ
                                ตํารับที่ 1 = วิธีเกษตรกร (ปูนตามคาความตองการปูน + ปุยเคมีตามคําแนะนํา)

                                ตํารับที่ 2 = ปุยเคมีตามคาวิเคราะหดิน
                                ตํารับที่ 3 = จุลินทรีย พด.9 อัตรา 100 กิโลกรัมตอไร
                                ตํารับที่ 4 = ปูนโดโลไมทตามคาความตองการปูน

                                ตํารับที่ 5 = เถาไมยางพารา อัตรา 600 กิโลกรัมตอไร
                                ตํารับที่ 6 = เถาไมยางพารา อัตรา 900 กิโลกรัมตอไร
                                ตํารับที่ 7 = เถาไมยางพารา อัตรา 1,200 กิโลกรัมตอไร
                                ตํารับที่ 8 = เถาไมยางพารา อัตรา 1,500 กิโลกรัมตอไร
   10   11   12   13   14   15   16   17   18   19   20