Page 11 - ผลของเถ้าไม้ยางพาราต่อความเป็นประโยชน์ของธาตุอาหารพืชในดินกรดเพื่อการปลูกอ้อยคั้นน้ำ Effect of rubber wood ash to nutrient profitability in acids soil for juicing sugarcane.
P. 11

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                               6


                                                      การตรวจเอกสาร
                         ธาตุอาหารมีอิทธิพลตอพืชทั้งดานผลผลิตและคุณภาพ พืชตองการปริมาณและชนิดของธาตุอาหาร

                  ในแตละชวงของการเจริญเติบโตไมเทากัน โดยตองการในปริมาณที่เพิ่มขึ้นตามสวนของการเจริญเติบโตที่
                  เพิ่มขึ้น เมื่อพืชเจริญเติบโตถึงชวงหนึ่งพืชจะตองการปริมาณธาตุอาหารคงที่ ไมเพิ่มขึ้น แมวาจะมีการใสลง
                  ไปอีกพืชก็ไมสามารถดูดมาใชประโยชนได เนื่องจากพืชเจริญเติบโตเต็มที่แลวและไดดูดกินอาหารมาสะสม
                  ไวมากพอแลวทําใหเกิดการสูญเสียและตกคางอยูในดิน และหากมีปริมาณที่มากเกินไปจะกอใหเกิดเปนพิษ

                  ไดทําใหพืชมีลักษณะการตอบสนองผิดไปจากเดิม เกิดการชะงักการเจริญเติบโตของพืช ระบบการทํางาน
                  ของพืชผิดปกติ (อภิรดี, 2535)
                         ดินกรด (Acid soils) หมายถึงดินที่มีความเปนกรดเปนดางต่ํากวา 5.5 เปนขอจํากัดประเภทหนึ่ง

                  ในดานความเปนประโยชนของธาตุอาหารการเกิดดินกรดมีสาเหตุไดแก เกิดตามธรรมชาติจากวัตถุตน
                  กําเนิดดินที่เปนกรด เกิดการชะละลายธาตุอาหารที่เปนดางออกไปจากดินโดยน้ําฝนหรือน้ําชลประทาน พืช
                  ดูดธาตุอาหารที่เปนดางออกไปแลวปลดปลอยกรดลงไปแทน การใชปุยเคมีหรือสารเคมีตางๆที่มีสาร
                  กํามะถันเปนองคประกอบและเกิดฝนกรด (กรมพัฒนาที่ดิน, 2553) ทําใหมีผลตอการเจริญเติบโตและ
                  กิจกรรมของสิ่งมีชีวิตในดินและการละลายของธาตุอาหาร ความเปนพิษของธาตุบางอยาง(กรมพัฒนาที่ดิน,

                  2552)
                          ดินกรดเกิดจากการผุผังสลายตัวอยางรุนแรงในเขตรอนชื้น มีลักษณะเฉพาะคือ มีระดับศักยภาพ
                  ความเปนพิษของไฮโดรเจน อะลูมินั่ม แมงกานีส และ เหล็ก และมีแนวโนมที่จะขาดแคลเซียม แมกนีเซียม

                  และโพแทสเซียม ในสารละลายดิน ดินกรดเปนดินที่ขาดความอุดมสมบูรณ มีผลกระทบทางตรงตอการ
                  เจริญเติบโตของพืชและผลผลิต เนื่องจากระบบรากพืชถูกจํากัดการเจริญในดินชั้นลางที่เปนกรดจัด หรือมี
                  ผลกระทบทางออมที่ไปจํากัดการเจริญและการพัฒนาการของจุลชีพ เชนไรโซเบียม ไมคอรไรซา และแอคติ
                  โนไมซีส (เจริญและคณะ, 2540) ประเทศไทยมีพื้นที่ดินกรดประมาณ 95,410,591 ลานไรแบงเปนพื้นที่ดิน

                  กรดในที่ลุมมีพื้นที่ประมาณ 35,814,121 ไรและพื้นที่ดินกรดในที่ดอนมีพื้นที่ประมาณ 59,596,470 ไร คิด
                  เปนรอยละ 37.53 และ 62.46 ของพื้นที่ดินกรดทั้งหมด  ภาคใตพบพื้นที่ดินกรดในที่ลุมมีพื้นที่ประมาณ
                  5,280,143 ไรและพื้นที่ดินกรดในที่ดอนมีพื้นที่ประมาณ 13,267,405 ไร คิดเปนรอยละ 5.53 และ 13.90
                  ของพื้นที่ดินกรดทางภาคใต (กรมพัฒนาที่ดิน, 2553) สําหรับภาคใตตอนลางพบพื้นที่ดินกรดในที่ลุมที่

                  จังหวัดสงขลามากที่สุดรองลงมา พัทลุงและนราธิวาสมีพื้นที่ประมาณ 344,600 191,612 และ 173,613
                  ไร คิดเปนรอยละ 6.52 3.62 และ 3.28 ของพื้นที่ดินกรดในที่ลุมทางภาคใต (กรมพัฒนาที่ดิน, 2548) ดินที่
                  เปนกรดระดับความเปนกรดของดินมีผลตอธาตุฟอสฟอรัสคือ เมื่อดินเปนกรดมากๆจะสงเสริมการตรึง
                  ฟอสเฟตใหอยูในรูปของเหล็กและอะลูมินัม พืชนําไปใชประโยชนไดยากเนื่องจากเหล็กและอะลูมินัมละลาย

                  น้ําออกมามาก และไดงายบางครั้งละลายออกมามากเกินไปจนเปนพิษตอพืช เมื่อดินมีคา pH  ของดินต่ํา
                  กวา  5.0 (กรมพัฒนาที่ดิน, 2552) ความเขมขนของอะลูมินั่มในสารละลายดิน หากมากกวา 1  ppm จะ
                  กระทบตอพืชโดยตรง ทําใหผลผลิตลดลง โดยอะลูมินั่มจะเขาทําลายระบบราก จํากัดการพัฒนาการของ

                  ราก รากจะสั้นอวน หรือบวมงอ มีรากขนออนแตกออกมานอยมาก ยับยั้งการดูดใช และการเคลื่อนยาย
                  แคลเซียมและฟอสฟอรัสสูสวนยอด หากในสารละลายดินมีปริมาณความเขมขนของอะลูมินั่มสูงจะเกิดการ
                  รวมตัวกับฟอสฟอรัส เปนอะลูมินั่มฟอสเฟต ตกตะกอน หรือถูกยึดเอาไวในดินอยางแข็งแรงทําใหพืชเกิด
                  อาการขาดธาตุอาหารพืชได (เจริญและคณะ, 2540)  ความเปนพิษของอะลูมินั่มเปนปจจัยที่สําคัญที่จํากัด
                  การเจริญเติบโตของพืชที่ปลูกในดินกรด โดยมีอะลูมินั่มละลายออกมามากจนมีผลกระทบตอการ

                  เจริญเติบโตและการใหผลผลิตของพืชซึ่งมีผลตอการแบงเซลล การทํางานของเอนไซมตางๆและการดูดธาตุ
                  อาหารของพืช สําหรับพืชตระกูลถั่วอะลูมินั่มจะชะลอการเกิดและการเจริญเติบโตของปมแตไมมีผลตอการ
   6   7   8   9   10   11   12   13   14   15   16