Page 9 - ผลของเถ้าไม้ยางพาราต่อความเป็นประโยชน์ของธาตุอาหารพืชในดินกรดเพื่อการปลูกอ้อยคั้นน้ำ Effect of rubber wood ash to nutrient profitability in acids soil for juicing sugarcane.
P. 9
ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
4
หลักการและเหตุผล
ปจจุบันประเทศไทยมีการใชชีวมวลเปนเชื้อเพลิงมากเปนอันดับ 4 รองจากน้ํามันดิบ ถานหิน
และกาซธรรมชาติ การผลิตไฟฟาจากชีวมวล เชน ปกไมยางพารา ทะลายปาลมน้ํามัน และไมชิ้นสับ ซึ่งเปน
วัสดุเหลือทิ้งทางการเกษตรจํานวนมาก จะชวยลดรายจายการนําเขาน้ํามัน และเชื้อเพลิงที่สามารถผลิตได
ในประเทศดวย (ณัฐวุฒิ , 2558) ในจังหวัดสงขลา มีโรงไฟฟาชีวมวลจํานวน 8 โรง ใชชีวมวลเศษไม
ยางพาราในการผลิต มีกําลังการผลิตคอนขางสูง 85.7 MW ซึ่งจะมีเถาไมยางพาราออกมาเปนจํานวนมาก
(พลังงานจังหวัดสงขลา, 2560) การกําจัดไมยางพารานั้นจะใชวิธีการฝงกลบ แตเนื่องจากเถาไมยางพารามี
ปริมาณเพิ่มมากขึ้นตามการผลิตพลังงานไฟฟา จึงตองหาวิธีการจัดการที่เหมาะสม เถาไมยางพารามีคา
ความเปนดางคอนขางสูง หากพบการสะสมในปริมาณที่มากและปลอยทิ้งไวในดินติดตอกันระยะเวลานาน
จะกลายเปนมลพิษทางดินได แตเถาไมยางพาราจากการเผาไหมจากโรงงานผลิตไฟฟาชีวมวลนั้น เปน
สารอินทรีย และสารอนินทรีย ที่มีธาตุอาหารสําหรับพืชอยูดวย หากนําไปใชประโยชนทางการเกษตรจะ
สามารถชวยปรับสภาพดินกรดและชวยเพิ่มธาตุอาหารพืชในดินไดบางสวน จึงไดนําเถาไมยางพารามา
ศึกษาสมบัติทางเคมี และชีวภาพ เพื่อเปนสารปรับปรุงบํารุงดิน และลดการใชปุยเคมี เปนการเพิ่มมูลคา
ของการกําจัดวัสดุเหลือใชไดอยางเหมาะสม นับวาเปนแนวทางการกําจัดของเสียและสามารถนําไปใชให
เกิดประโยชนทางการเกษตรได เปนทางเลือกใหมใหกับเกษตรกรในการนํามาเปนวัสดุปรับปรุงดินและชวย
ลดตนทุนการผลิต
เถาไมยางพาราเปนผลพลอยไดจํานวนมากจากโรงผลิตไฟฟาพลังงานชีวมวล และการเผาเศษไม
หรือวัสดุเหลือใชของไมยางพาราจากโรงงานอุตสาหกรรมการผลิตเฟอรนิเจอร และโรงงานอุตสาหกรรม
อื่นๆอีกมากมาย การกําจัดเถาไมยางพารานั้นจะทําการขุดหลุมแลวฝงกลบ แตเถาไมยางพารามีคาความ
เปนดางคอนขางสูง หากมีการสะสมในปริมาณมากและปลอยทิ้งไวในดินติดตอกันเปนระยะเวลานานจน
กลายเปนมลพิษทางดินได และทําใหพื้นที่ดังกลาวกลายเปนพื้นที่เสื่อมโทรมหรือเปนพื้นที่ดินดางก็จะเปน
ดินที่เปนปญหาทางการเกษตรอีกชนิดหนึ่ง ไมสามารถนํามาใชประโยชนได มีคาความเปนดางคอนขางสูง
และมีธาตุโพแทสเซียมสูงดวยซึ่งจากการวิเคราะหในหองปฏิบัติการ พบวา มีปริมาณธาตุอาหารหลักที่
จําเปนอยูครบ คือ ธาตุไนโตรเจน ฟอสฟอรัสและโพแทสเซียม โดยเฉพาะธาตุโพแทสเซียมมีปริมาณสูง คือ
รอยละ 5.18 ปริมาณธาตุฟอสฟอรัสและปริมาณธาตุไนโตรเจน มีปริมาณรอยละ 1.56 และ 0.24
ตามลําดับ ปริมาณอินทรียวัตถุรอยละ 8.93 และมีคาความเปนกรดเปนดาง (pH) 10.8 (กลุมวิเคราะหดิน
สํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 12, 2560 ) จึงเหมาะแกการใชเปนวัสดุปรับปรุงดินเพื่อแกปญหาดินขาดแคลน
ธาตุอาหารพืช เชน ดินทรายจัด ดินกรดและดินเปรี้ยวจัด เปนตน จากผลวิเคราะหดังกลาวสามารถนํามาใช
ประโยชนทางการเกษตร โดยใชเปนสารปรับปรุงดินหรือปรับสภาพดินที่เปนปญหาทางการเกษตร เชน ดิน
กรด ดินทรายจัด ดินเปรี้ยวจัด เปนตน หรือนํามาใชปรับสภาพพื้นที่ที่มีการใชปุยเคมีติดตอกันเปนระยะ
เวลานาน ซึ่งอาจจะใชทดแทนปูนโดโลไมทได โดยพื้นที่ที่มีการใชปุยเคมีติดตอกันเปนระยะเวลานานจะทํา
ใหดินมีโครงสรางที่แนนทึบจนยากแกการปลูกพืชได พบวา การใสปุยเคมีอยางตอเนื่องทุกๆป มีผลตอ
ระดับความเปนกรดของดินจากการทดลอง Tattao (1987) ในดินดอน ซึ่งเปนดินเหนียวสีแดง มีการใสปุย
ไนโตรเจน ฟอสฟอรัส และโพแทสเซียมอัตราตางๆกันใหแกขาวโพดที่ปลูกปละครั้งติดตอกันเปนเวลา 10 ป
พบวามีการเปลี่ยนแปลงของระดับ pH ยิ่งต่ําเมื่อใสปุยมากขึ้นหากดินมีปฏิกิริยาเปนกรดอยูแลวการใสปุย
ทําใหดินเปนกรดมากขึ้น แมจะใสทั้งปุยไนโตรเจน ฟอสฟอรัส และโพแทสเซียม แตปุยที่เปนตัวการสําคัญที่
ทําใหเปนกรดคือ ปุยแอมโมเนียมซัลเฟต สวนปุยดับเบิ้ลซูเปอรฟอสเฟตและโพแทสเซียมคลอไรดมีผลตอ
ความเปนกรด-ดางของดินนอยมากเมื่อเทียบกับปุยแอมโมเนียมซัลเฟต (อํานาจ, 2551)