Page 17 - ผลของเถ้าไม้ยางพาราต่อความเป็นประโยชน์ของธาตุอาหารพืชในดินกรดเพื่อการปลูกอ้อยคั้นน้ำ Effect of rubber wood ash to nutrient profitability in acids soil for juicing sugarcane.
P. 17

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                               12


                                - น้ําหมักชีวภาพ พด.2 อัตรา 200 ซีซีผสมน้ํา 100 ลิตรตอไร ฉีดพนหรือรดลงดินทุกๆ 7
                         วัน ในทุกตํารับการทดลอง

                                - ใสปุยเคมีสูตร 16-8-8 ครั้งแรกเมื่ออายุ 1 เดือน อัตราแนะนํา 35 กิโลกรัมตอไร ครั้งที่
                         2 เมื่ออายุ 3 เดือน อัตราแนะนํา 40 กิโลกรัมตอไร ในตํารับที่ 1
                                - ใสปุยเคมีสูตร 16-8-8 ครั้งแรกเมื่ออายุ 1 เดือน และ ครั้งที่ 2 เมื่ออายุ 3 เดือน ใน
                         ตํารับที่ 2 อัตราตามคาวิเคราะหดิน

                                -  ใสจุลินทรีย พด.9  อัตรา 100  กิโลกรัมตอไร ในตํารับที่ 3  แบงใส 2 ครั้ง คือ ครั้งแรก
                         เมื่ออายุ 1 เดือน และครั้งที่ 2 เมื่ออายุ 3 เดือน
                                หมายเหตุ : การใสปุยแบบโรยเปนแถวขางกอออยแลวพรวนกลบ

                                - ใสปูนโดโลไมทอัตราตามคาความตองการปูน ในตํารับที่ 1 และ 4 ใสหลังจากเตรียมดิน
                  กอนปลูก 7 – 10 วัน
                                - ใสเถาไมยางพารา อัตรา 600 , 900 , 1,200 และ 1,500 กิโลกรัมตอไร ในตํารับที่ 5 ,
                  6 , 7 และ 8 ใสหลังจากเตรียมดินกอนปลูก 7 – 10 วัน
                                การใหน้ํา ควรใหน้ําทันทีหลังปลูก เพื่อใหออยงอกสม่ําเสมอหลังจากนั้นใหน้ําทุก 2 - 3

                  สัปดาห และงดใหน้ํา 2 สัปดาหกอนการเก็บเกี่ยว หากในชวงของการเก็บเกี่ยวมีฝนตกหนัก ตองระบายน้ํา
                  ออกจากรองทันทีใหเหลือไมเกินครึ่งรอง
                         13.5 การปองกันโรค

                                - ปุยหมัก พด.3 อัตรา 100 กิโลกรัมตอไรปองกันโรครากเนาโคนเนาในทุกตํารับการ
                         ทดลอง
                         13.6 การปองกันแมลง
                                - สารควบคุมแมลงศัตรูพืช พด.7 ที่เจือจางแลวอัตรา 50 ลิตรตอไรโดยฉีดพนที่ใบ ลําตน

                  และรดลงดินทุกๆ 20 วันหรือชวงที่แมลงระบาดพนทุกๆ 3 วันติดตอกัน 3 ครั้ง ในทุกตํารับการทดลอง
                                หมายเหตุ : การเจือจางสารควบคุมแมลงศัตรูพืชตอน้ํา เทากับ 1 ลิตรผสมน้ํา 100 ลิตร
                         13.7 การเก็บเกี่ยว
                         - ตัดเฉพาะลําออยที่มีอายุ 8 เดือน สังเกตไดคือ พันธุสุพรรณบุรี 50 จะมีลําสีเขียวอมเหลือง

                         - ใชมีดถากใบและกาบใบออกทั้ง 2 ดาน อยาใหเปลือกหรือลําเสียหาย แลวตัดยอดออยต่ํากวาจุด
                  คอใบประมาณ 25 เซนติเมตร
                         - ใชยอดออยหรือเชือกฟางมัดโคนและปลายลําออย จากนั้นนําไปไวในที่รมรอการจําหนาย


                         13.8 การเก็บรวบรวมขอมูล
                         - พื้นที่เก็บเกี่ยวขอมูล ขนาด 4 x 4 เมตร ตอตํารับการทดลอง
                         - เก็บตัวอยางดินกอนและหลังการทดลองในระดับความลึก 0 - 15 ซม.ทุกตํารับการทดลองเพื่อ

                  วิเคราะหสมบัติของดินกอนและหลังจากการเก็บเกี่ยวผลผลิตขาวโพดหวาน
                         - บันทึกขอมูลผลวิเคราะหสมบัติทางเคมีของดิน ดังนี้ปริมาณอินทรียวัตถุ ฟอสฟอรัส โพแทสเซียม
                  แคลเซียม แมกนีเซียม กํามะถัน คาความเปนกรดเปนดาง คาการนําไฟฟาของสารละลายดินและ
                  ความสามารถในการแลกเปลี่ยนประจุบวก
                         - บันทึกขอมูลปริมาณธาตุอาหารพืชในแตละตํารับการทดลองกอนและหลังการทดลอง

                         - บันทึกการเจริญเติบโตของออยคั้นน้ํา
                         - บันทึกความหวานของออยคั้นน้ํา
   12   13   14   15   16   17   18   19   20   21   22