Page 7 - ผลของเถ้าไม้ยางพาราต่อความเป็นประโยชน์ของธาตุอาหารพืชในดินกรดเพื่อการปลูกอ้อยคั้นน้ำ Effect of rubber wood ash to nutrient profitability in acids soil for juicing sugarcane.
P. 7

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                                                              2



                  ทะเบียนวิจัยเลขที่           62-63-04-12-010118-024-102-18-11
                  ชื่อโครงการ                  ผลของเถาไมยางพาราตอความเปนประโยชนของธาตุอาหารพืชใน   ดิน
                                              กรดเพื่อการปลูกออยคั้นน้ํา

                                                 Effect of rubber wood ash to nutrient profitability in acids soil
                                               for juicing sugarcane
                  กลุมชุดดินที่               6    ชุดดินพัทลุง  ( series : Ptl )

                  ผูดําเนินการ                นางพิมล  ออนแกว    Mrs. Phimon  Onkaew
                  ผูรวมดําเนินการ            นางนงเยาว  พฤฒิคณี  Mrs. Nongyao  Pruetikani
                                               นางสาวสุภาวดี  เรืองกูล  Ms. Supawadee  Ruangkul

                                                          บทคัดยอ


                         ทําการศึกษาผลของเถาไมยางพาราตอพืชออยคั้นน้ําพันธุสุพรรณบุรี 50 ที่ปลูกในดินกรดชุดดิน
                  พัทลุง (Ptl : series) กลุมชุดดินที่ 6 ดําเนินการทดลองในแปลงเกษตรกรในพื้นที่ หมู 4 ตําบลกําแพงเพชร

                  อําเภอรัตภูมิ จังหวัดสงขลา ในชวงเดือนตุลาคม 2561 ถึงเดือนกันยายน 2563 โดยวางแผนการทดลอง
                  แบบ RCBD ( Randomized Complex Block Design) จํานวน 8 ตํารับการทดลอง  4 ซ้ํา ดังนี้ ตํารับที่
                  1(T1) : วิธีเกษตรกร  ตํารับที่ 2 (T2) : ปุยเคมีตามคาวิเคราะหดิน  ตํารับที่ 3 (T3) : จุลินทรีย พด.9 อัตรา
                  100 กิโลกรัมตอไร  ตํารับที่ 4 (T4)  :  ปูนโดโลไมทตามคาความตองการปูน   ตํารับที่ 5 (T5)  :  เถาไม

                  ยางพารา อัตรา 600 กิโลกรัมตอไร  ตํารับที่ 6 (T6) : เถาไมยางพารา อัตรา 900 กิโลกรัมตอไร  ตํารับที่ 7
                  (T7) : เถาไมยางพารา อัตรา 1,200 กิโลกรัมตอไร  ตํารับที่ 8 (T8) : เถาไมยางพารา อัตรา 1,500 กิโลกรัม
                  ตอไร
                         การใชขี้เถาไมยางพารา ปรับปรุงดินกรด มีผลตอการเจริญเติบและการเพิ่มผลผลิตของออยคั้นน้ํา

                  ทําใหสมบัติทางเคมีของดินหลังการทดลองเปลี่ยนแปลง  คาความเปนกรดเปนดางเพิ่มขึ้น ปริมาณ
                  อินทรียวัตถุมีคาลดลงเล็กนอย ปริมาณฟอสฟอรัส โพแทสเซียม และแคลเซียมมีคาเพิ่มขึ้น สวนปริมาณ
                  แมกนีเซียมมีการเปลี่ยนแปลงนอยมาก
                         ผลการทดลองพบวา วิธีการที่ 8 คือ  ใสเถาไมยางพารา อัตรา 1,500 กิโลกรัมตอไร    มีแนวโนมให

                  ผลผลิตสูงที่สุด เทากับ 18.56 ตันตอไร  และใหผลตอบแทนทางเศรษฐกิจสูงสุด เทากับ 71,290.00 บาทตอไร
                  รองลงมาตํารับที่  6 คือ  ใสเถาไมยางพารา อัตรา 1,200 กิโลกรัมตอไร   ใหผลผลิต 18.25  ตันตอไร  และให
                  ผลตอบแทนทางเศรษฐกิจเทากับ 70,040 บาทตอไร  สวนวิธีการที่ 3 คือ ใสปุยหมักจุลินทรีย พด.9 อัตรา 100
                  กิโลกรัมตอไร ออยคั้นน้ําใหผลผลิตและผลตอบแทนทางเศรษฐกิจต่ําสุด  เทากับ 9.70 ตันตอไร  และ 26,940
                  บาทตอไร ตามลําดับ
   2   3   4   5   6   7   8   9   10   11   12