Page 16 - ผลของเถ้าไม้ยางพาราต่อความเป็นประโยชน์ของธาตุอาหารพืชในดินกรดเพื่อการปลูกอ้อยคั้นน้ำ Effect of rubber wood ash to nutrient profitability in acids soil for juicing sugarcane.
P. 16

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                                11


                         หมายเหตุ : - ใสปุยหมัก พด.1 อัตรา 4,000 กิโลกรัมตอไรทุกตํารับการทดลองในระยะเตรียมดิน
                                    - จุลินทรียเพิ่มความเปนประโยชนของฟอสฟอรัสในดินกรด ดินเปรี้ยวพด. 9

                  (จุลินทรีย พด.9)

                          ใสตามความตองการออย โดยใหสอดคลองกับผลวิเคราะหดินตามตารางขางลาง
                  คาวิเคราะหดิน                                         อัตราปุยที่ใส (กิโลกรัมตอไร)

                  ออย
                  OM.%                         1 < 1-2 > 2                N                12     12      6
                  P (มก./กก.)               15 < 15-30 > 30             P2O5                6       6      3

                  K (มก./กก.)               60 < 60-90 > 90              K2O               12     12      6
                         (กรมวิชาการเกษตร, 2548)

                         วิธีดําเนินการ

                         13.2 การเตรียมแปลง
                                1. คัดเลือกพื้นที่ดินกรด ชุดดินโคกเคียน
                                2. เตรียมแปลงทดลองและสุมตํารับการทดลองในพื้นที่ทดลองใชพื้นที่ขนาด 4 x 4 เมตร

                  เก็บขอมูล 4  x  4 เมตร (มี 8 ตํารับการทดลอง 3 ซ้ํา ) รวมเปน 24 แปลงยอยใชพื้นที่การทดลองทั้งหมด
                  ประมาณ 800 ตารางเมตร
                                3. เก็บตัวอยางดินกอนและหลังการทดลองที่ระดับ 0 - 15 เซนติเมตร เพื่อวิเคราะห
                  สมบัติทางเคมีของดิน ดังนี้ปริมาณ OM  P  K  Ca  Mg  S pH คาการนําไฟฟาของสารละลายดินและ
                  ความสามารถในการแลกเปลี่ยนประจุบวก

                         13.3 การเตรียมดิน เตรียมตนพันธุและการจัดการ
                                การเตรียมดิน
                                1. ไถดะ 1 ครั้ง ใหลึกประมาณ 30 - 50 เซนติเมตร และตากดินไวประมาณ 7 วันเพื่อ

                  ทําลายโรคและแมลงที่อาศัยอยูในดิน
                                2. ไถแปร 1 - 2 ครั้ง เพื่อใหดินรวนซุย เหมาะแกการทํารองหรือแถวปลูก และคราดเก็บ
                  เศษซาก ราก เหงา ของวัชพืชขามป ออกจากแปลง


                                การเตรียมทอนพันธุ
                                1. ใชทอนพันธุอายุ 6 - 8 เดือน จากแหลงหรือแปลงที่ไมมีโรคลําตนเนาแดงระบาด
                                2. ใชมีดตัดลําออยชิดโคน และตัดออยต่ํากวาคอใบสุดทายที่คลี่แลวประมาณ 20
                  เซนติเมตร ลอกกาบใบออก ตัดออยเปนทอน จํานวน 3 ตาตอทอน แลวนําไปปลูกทันที ไมควรทิ้งไวเกิน 7

                  วัน
                                การปลูก
                                1. ปลูกเปนแถวเดี่ยว โดยวางทอนทอนพันธุในรอง ใหมีระยะระหวางทอน 50 เซนติเมตร
                  ระยะระหวางแถว 75 เซนติเมตร

                                2. กลบดินใหสม่ําเสมอ หนา 3 - 5 เซนติเมตร
                         13.4 การใสปุย /การใสปูนโดโลไมท และการใสเถาไมยางพารา
                                - ใสปุยหมัก พด.1 อัตรา 2,000 กิโลกรัมตอไรในทุกตํารับการทดลอง
   11   12   13   14   15   16   17   18   19   20   21