Page 14 - ผลการใช้ปุ๋ยชีวภาพและลดอัตราปุ๋ยเคมีต่อการเพิ่มผลผลิตของปาล์มนํ้ามันในพื้นที่ดินเปรี้ยวจัด จังหวัดพัทลุง
P. 14

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                                                       10


               สังเคราะห์แสง การหายใจ การเคลื่อนย้ายสาร ช่วยในการเจริญเติบโตของราก จ้าเป็นส้าหรับการออกดอก ติด
               เมล็ด และการพัฒนาของเมล็ดหรือผล

                       ธาตุโพแทสเซียม เป็นองค์ประกอบส้าคัญของเอนไซม์ที่ช่วยในการสังเคราะห์แสง การสร้างโปรตีน
               แป้ง ช่วยในการล้าเลียงแป้งและน้้าตาล ควบคุมและรักษาระดับความเป็นกรดด่าง ควบคุมการเปิด-ปิดปากใบ
               ช่วยกระตุ้นการท้างานของเอนไซม์บางชนิด กระบวนการเมทาโบลิซึมของคาร์โบไฮเดรตและโปรตีน ช่วยให้ทุก
               ส่วนของต้นพืชและระบบรากแข็งแรง ทนทานต่อโรคแมลง ช่วยเพิ่มขนาดผลผลิต เมล็ด และปรับปรุงคุณภาพ

               ของผลผลิต
                       ธาตุแมกนีเซียม เป็นส่วนประกอบของคลอโรฟิลล์ซึ่งส้าคัญส้าหรับการสังเคราะห์แสง เป็น
               ส่วนประกอบของระบบเอนไซม์ที่เกี่ยวข้องกับการสร้างแป้ง สร้างกรดนิวคลีอิค เป็นตัวกระตุ้นการท้างานของ
               เอนไซม์ที่เกี่ยวข้องกับการหายใจของเซลล์และเมทาโบลิซึมของคาร์โบไฮเดรท ช่วยเสริมสร้างการดูดใช้และ

               ล้าเลียงธาตุฟอสฟอรัส ช่วยเคลื่อนย้ายน้้าตาลในพืช
                       ธาตุโบรอน มีความสัมพันธ์กับเมทาโบลิซึมของคาร์โบไฮเดรทและกรดนิวคลีอิค การสร้างผนังเซลล์
               การแบ่งเซลล์ เพิ่มความสามารถในการเคลื่อนย้ายแป้งและน้้าตาลผ่านผนังเซลล์ จ้าเป็นส้าหรับการสร้าง
               โปรตีน ควบคุมสัดส่วนระหว่างโพแทสเซียมและแคลเซียม เพิ่มหรือส่งเสริมการใช้ประโยชน์ของธาตุอื่นๆ เช่น

               ไนโตรเจน ฟอสฟอรัส แคลเซียม ควบคุมการท้างานของธาตุหลายชนิดและควบคุมการใช้น้้าของพืช (กอง
               ปฐพีวิทยา, 2543) การใช้ปุ๋ยชีวภาพจะช่วยส่งเสริมสมบัติทางกายภาพ ท้าให้ดินเหนียว มีความร่วนซุย
               ระบายน้้า อากาศได้ดีขึ้น ปรับสภาพทางเคมีโดยลดความเป็นกรดเป็นด่างของดิน ลดความเป็นพิษของโลหะ

               หนัก ช่วยปลดปล่อยธาตุอาหารให้เป็นประโยชน์ต่อพืช ช่วยเก็บธาตุอาหารไว้ในดิน และดินที่มีอินทรียวัตถุ
               มากพอจะต้านทานการชะล้างพังทลายของดินได้ (กรมวิชาการเกษตร, 2551)
                       ส าหรับอัตราปุ๋ยที่ใช้และวิธีการใส่จะแตกต่างกันไปตามอายุของปาล์มน  ามัน ดังนี
                       ปาล์มน้้ามันอายุ 1 ปี ใส่ปุ๋ยไนโตรเจน (แอมโมเนียมซัลเฟต) อัตรา 1.2 กิโลกรัมต่อต้น ปุ๋ยฟอสฟอรัส
               ในรูปหินฟอสเฟต อัตรา 1.3 กิโลกรัมต่อต้น ปุ๋ยโพแทสเซียมคลอไรด์ 0.5 กิโลกรัมต่อต้น แมกนีเซียมคลอไรด์

               0.1 กิโลกรัมต่อต้น และโบเรท 30 กรัมต่อต้น โดยแบ่งใส่ปุ๋ยไนโตรเจน 5 ครั้ง และโพแทสเซียมคลอไรด์ 3
               ครั้ง
                       ปาล์มน้้ามันอายุ 2 ปี ใส่ปุ๋ยไนโตรเจน (แอมโมเนียมซัลเฟต) อัตรา 3.5 กิโลกรัมต่อต้น ปุ๋ยฟอสฟอรัส

               ในรูปหินฟอสเฟต อัตรา 3 กิโลกรัมต่อต้น ปุ๋ยโพแทสเซียมคลอไรด์ 2.5 กิโลกรัมต่อต้น แมกนีเซียมคลอไรด์
               0.5 กิโลกรัมต่อต้น และโบเรท 60 กรัมต่อต้น
                       ปาล์มน้้ามันอายุ 3 ปี ใส่ปุ๋ยไนโตรเจน (แอมโมเนียมซัลเฟต) อัตรา 5 กิโลกรัมต่อต้น ปุ๋ยฟอสฟอรัส
               ในรูปหินฟอสเฟต อัตรา 3 กิโลกรัมต่อต้น ปุ๋ยโพแทสเซียมคลอไรด์ 3 กิโลกรัมต่อต้น แมกนีเซียมคลอไรด์ 1

               กิโลกรัมต่อต้น และโบเรท 90 กรัมต่อต้น
                       ปาล์มน้้ามันอายุ 4 ปี ใส่ปุ๋ยไนโตรเจน (แอมโมเนียมซัลเฟต) อัตรา 5 กิโลกรัมต่อต้น ปุ๋ยฟอสฟอรัส
               ในรูปหินฟอสเฟต อัตรา 3 กิโลกรัมต่อต้น ปุ๋ยโพแทสเซียมคลอไรด์ 4 กิโลกรัมต่อต้น แมกนีเซียมคลอไรด์ 1
               กิโลกรัมต่อต้น และโบเรท 100 กรัมต่อต้น

                       ปาล์มน้้ามันอายุ 5 ปี ใส่ปุ๋ยไนโตรเจน (แอมโมเนียมซัลเฟต) อัตรา 5 กิโลกรัมต่อต้น ปุ๋ยฟอสฟอรัส
               ในรูปหินฟอสเฟต อัตรา 3 กิโลกรัมต่อต้น ปุ๋ยโพแทสเซียมคลอไรด์ 4 กิโลกรัมต่อต้น แมกนีเซียมคลอไรด์ 1
               กิโลกรัมต่อต้น และโบเรท 80 กรัมต่อต้น
   9   10   11   12   13   14   15   16   17   18   19