Page 18 - ผลการใช้ปุ๋ยชีวภาพและลดอัตราปุ๋ยเคมีต่อการเพิ่มผลผลิตของปาล์มนํ้ามันในพื้นที่ดินเปรี้ยวจัด จังหวัดพัทลุง
P. 18

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                                                       14


               หากดินปลดปล่อยฟอสเฟตไอออนออกมาอยู่ในรูปสารละลายดินด้วยความเข้มข้นที่เหมาะสม และ สม่้าเสมอ
               แล้วพืชก็จะเจริญเติบตีและให้ผลผลิตสูง (ยงยุทธและคณะ, 2551)

                        วัสดุส าหรับการขยายเชื อ (วัสดุส้าหรับการขยายเชื้อ)
                              1 ปุ๋ยหมัก                   300   กิโลกรัม
                              2 ร้าข้าวละเอียด                 3   กิโลกรัม
                              3 น้้า                           20   ลิตร

                              4 จุลินทรีย์ พด. 9              1   ซอง (100 กรัม)
                       การขยายเชื อจุลินทรีย์ พด.9
                       1. ผสมปุ๋ยหมักกับร้าข้าวละเอียดให้เข้ากันและละลายจุลินทรีย์พด.9 ในน้้าและกวนส่วนผสม
               ประมาณ 5นาที

                       2 น้าจุลินทรีย์ พด. 9 ที่ละลายน้้าเทลงในส่วนผสมของปุ๋ยหมักและร้าข้าวผสมวัสดุให้เข้ากันและปรับ
               ความชื้นด้วยน้้าให้เข้ากันประมาณ 70 เปอร์เซ็นต์
                       3 ตั้งกองปุ๋ยหมักในร่มเป็นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้าให้สูงประมาณ 50 เซนติเมตรใช้วัสดุคลุมเพื่อรักษา
               ความชื้น

                       4 ในระหว่างขยายเชื้อให้รักษาความชื้นในกองปุ๋ยให้ได้ประมาณ 70 เปอร์เซ็นต์
                       5 ขยายเชื้อเป็นเวลา 4 วันจึงน้าไปใช้ได้
                       การใช้จุลินทรีย์ พด.9 มีประโยชน์ในการเพิ่มความเป็นประโยชน์ของฟอสฟอรัสในดินกรด ดินเปรี้ยว

               และเพิ่มการละลายฟอสฟอรัสในหินฟอสเฟตให้อยู่ในรูปที่พืชใช้ประโยชน์ได้ (กรมพัฒนาที่ดิน, 2553)
                       ปูนโดโลไมท์ [CaMg(CO ) ] เป็นแร่เกิดจากตะกอนของแคลเซียมและแมกนีเซียมทับถมกัน มีสีต่างๆ
                                           3 2
               เช่น เทา ชมพู ขาว มีลักษณะคล้ายแร่คัลไซต์ โดยทั่วไปปูนโดโลไมท์เป็นแร่ที่เกิดจากการปะปนมากับหินปูน
               ประเภท dolomitic limestone หินโดโลไมท์บดใช้เป็นวัสดุปูนได้ดีและนอกจากจะช่วยยกระดับ pH ของดิน
               ได้แล้วยังเพิ่มความเป็นประโยชน์ของธาตุอาหารพืชพวกไนโตรเจน ฟอสฟอรัส แคลเซียม แมกนีเซียม ซิลิกา

               และโมลิบดินัม ช่วยเพิ่มและส่งเสริมกิจกรรมของจุลินทรีย์ดินที่เป็นประโยชน์ต่อพืช ช่วยลดการเกิดโรครากเน่า
               โคนเน่าของพืชและควบคุมปริมาณกรดอินทรีย์ ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ ความเข้มข้นของเหล็ก อะลูมินั่ม
               ตลอดจนสารพิษต่างๆ เช่น    ไพไรต์และไฮโดรเจนซัลไฟด์ในสารละลายดิน มิให้มีการสะสมมากเกินไปจนเป็น

               พิษ มีค่า CCE อยู่ระหว่าง 60-100 เปอร์เซ็นต์ และปูนโดโลไมท์ที่ใช้ในการปรับปรุงดินควรมีค่า CCE ไม่ต่้า
               กว่า 90 เปอร์เซ็นต์ (เจริญและรสมาลิน, 2542)


                                               ระยะเวลาและสถานที่ด าเนินการ

               ระยะเวลาท าการวิจัย  เริ่มต้น  เดือนตุลาคม       พ.ศ. 2560
                                     สิ้นสุด  เดือนกันยายน      พ.ศ. 2563
               สถานที่ด าเนินการ     หมู่ 2 ต้าบลปากพะยูน อ้าเภอปากพะยูน  จังหวัดพัทลุง


                                                  วัสดุ อุปกรณ์และวิธีการ

               วัสดุและอุปกรณ์
                     1.  ปัจจัยในการผลิตน้้าหมักชีวภาพซุปเปอร์  พด.2  ปุ๋ยหมักส้าหรับขยายเชื้อ  พด.9    และปุ๋ยชีวภาพ
               พด.12

                     2. ปุ๋ยเคมี
   13   14   15   16   17   18   19   20   21   22   23