Page 21 - การศึกษาประสิทธิภาพของผลิตภัณฑ์ปุ๋ยชีวภาพสำหรับนาข้าวต่อการเจริญเติบโต และผลผลิตข้าวปทุมธานี 1 ในดินเหนียว จ.สุพรรณบุรี Study efficiency of biofertilizer for rice cultivation on growth and rice yield in clayer soil in Suphanburi province.
P. 21
ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
โดยมีปริมาณโพแทสเซียมที่แลกเปลี่ยนได้ในดิน อยู่ในช่วง 101.27 – 111.27 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม
เปรียบเทียบกับดินหลังทดลองปริมาณโพแทสเซียมที่แลกเปลี่ยนได้ในดินไม่มีความแตกต่างทางสถิติ
เช่นเดียวกัน โดยปริมาณโพแทสเซียมที่แลกเปลี่ยนได้ในดินเพิ่มขึ้นเล็กน้อยในต ารับควบคุม (ต ารับทดลองที่
1) การใช้ปุ๋ยเคมีอัตราตามค่าวิเคราะห์ดิน (ต ารับทดลองที่ 2) ใช้ผลิตภัณฑ์ปุ๋ยชีวภาพรูปแบบน้ า (ต ารับ
ทดลองที่ 3) และการใช้ผลิตภัณฑ์ปุ๋ยชีวภาพรูปแบบผงร่วมกับปุ๋ยเคมี 70 เปอร์เซ็นต์ (ต ารับทดลองที่ 8)
ตารางที่ 4 สมบัติทางเคมีของดินก่อนการทดลอง ปีที่ 2
pH OM Aval.P Aval.K
ต ารับทดลอง
(%) (mg/kg) (mg/kg)
T1 ควบคุม 7.63a 1.47 262.33 101.77
T2 ปุ๋ยเคมี (อัตราตามค่าวิเคราะห์ดิน) 7.63a 1.52 270.33 102.60
T3 ใช้ผลิตภัณฑ์ปุ๋ยชีวภาพส าหรับนาข้าวรูปแบบน้ า 7.50ab 1.40 283.67 101.27
T4 ใช้ผลิตภัณฑ์ปุ๋ยชีวภาพส าหรับนาข้าวรูปแบบน้ า + ปุ๋ยเคมี 50% 7.47b 1.37 302.33 103.27
T5 ใช้ผลิตภัณฑ์ปุ๋ยชีวภาพส าหรับนาข้าวรูปแบบน้ า + ปุ๋ยเคมี 70% 7.30c 1.26 313.33 110.93
T6 ใช้ผลิตภัณฑ์ปุ๋ยชีวภาพส าหรับนาข้าวรูปแบบผง 7.47b 1.35 290.67 102.10
T7 ใช้ผลิตภัณฑ์ปุ๋ยชีวภาพส าหรับนาข้าวรูปแบบผง + ปุ๋ยเคมี 50% 7.20c 1.26 302.33 111.27
T8 ใช้ผลิตภัณฑ์ปุ๋ยชีวภาพส าหรับนาข้าวรูปแบบผง + ปุ๋ยเคมี 70% 7.27c 1.30 316.67 108.10
CV (%) 1.23 9.32 12.35 12.77
F-test ** ns ns ns
หมายเหตุ: ค่าเฉลี่ยในคอลัมน์เดียวกันที่ตามหลังด้วยอักษรเหมือนกัน ไม่แตกต่างกันทางสถิติที่ระดับความ
เชื่อมั่น 95 เปอร์เซ็นต์ โดยวิธี DMRT
ns = ไม่มีความแตกต่างกันทางสถิติ
** = แตกต่างกันทางสถิติที่ระดับความเชื่อมั่น 99 เปอร์เซ็นต์