Page 16 - การศึกษาประสิทธิภาพของผลิตภัณฑ์ปุ๋ยชีวภาพสำหรับนาข้าวต่อการเจริญเติบโต และผลผลิตข้าวปทุมธานี 1 ในดินเหนียว จ.สุพรรณบุรี Study efficiency of biofertilizer for rice cultivation on growth and rice yield in clayer soil in Suphanburi province.
P. 16
ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
1) เชื้อราเอนโดไฟต์ P11 รูปแบบผงละลายน้ าใส่ในแปลงเพาะกล้า แปลงเพาะกล้ามี
2 แปลง ดังนี้ แปลงที่ 1 ส าหรับเพาะกล้าใช้ในต ารับทดลองที่ 1 และ 2 ไม่ต้องใส่เชื้อราเอนโดไฟต์ P11
แปลงที่ 2 ส าหรับเพาะกล้าข้าวเพื่อใช้ในต ารับทดลองที่ 3 4 5 6 7 และ 8 ใส่เชื้อราเอนโดไฟต์ P11 อัตรา
100 กรัมต่อน้ า 20 ลิตร ต่อพื้นที่ 1 ไร่
2) ผลิตภัณฑ์ปุ๋ยชีวภาพรูปแบบน้ า แบคทีเรียตรึงไนโตรเจน 42 และแบคทีเรีย
ละลายซิลิเกต CP31/1 ต ารับทดลองที่ 3 4 และ 5 อัตราการใช้ ดังนี้ แบคทีเรียตรึงไนโตรเจน 42 อัตรา
250 มิลลิลิลิตร และแบคทีเรียละลายซิลิเกต CP31/1 อัตรา 250 มิลลิลิลิตร ต่อน้ า 50 ลิตร ต่อพื้นที่ 1 ไร่
ใส่ในแปลงระยะปักด าข้าว
3) ผลิตภัณฑ์ปุ๋ยชีวภาพรูปแบบผงละลายน้ า แบคทีเรียตรึงไนโตรเจน 42 และ
แบคทีเรียละลายซิลิเกต CP31/1 ต ารับทดลองที่ 6 7 และ 8 อัตราการใช้ ดังนี้ แบคทีเรียตรึงไนโตรเจน 42
อัตรา 225 กรัม และแบคทีเรียละลายซิลิเกต CP31/1 อัตรา 225 กรัม ต่อน้ า 50 ลิตร ต่อพื้นที่ 1 ไร่ ใส่ใน
แปลงระยะปักด าข้าว
1.2.5 การใส่ปุ๋ยเคมี
1) แบ่งใส่ 2 ครั้ง ครั้งที่ 1 ระยะปักด าข้าว ครั้งที่ 2 ระยะก าเนิดช่อดอก
2) ต ารับทดลองที่ 2 ใส่ปุ๋ยเคมีอัตราตามค่าวิเคราะห์ดิน ใช้ปุ๋ยเคมี 46 - 0 - 0
อัตรา 26 กิโลกรัมต่อไร่
3) ต ารับทดลองที่ 4 และ 7 ใช้ปุ๋ยเคมีสูตร 46-0-0 อัตรา 13 กิโลกรัมต่อไร่ และ
ต ารับทดลองที่ 5 และ 8 ใช้ปุ๋ยเคมีสูตร 46 - 0 - 0 อัตรา 18.2 กิโลกรัมต่อไร่
1.3 การเก็บข้อมูล
1.3.1 ข้อมูลดิน
เก็บตัวอย่างดินก่อนการทดลอง และหลังเก็บเกี่ยวผลผลิตข้าวในแต่ละแปลงที่ระดับ
ความลึก 0 - 15 เซนติเมตร โดยน ามาวิเคราะห์สมบัติทางเคมีดิน ได้แก่ ความเป็นกรดเป็นด่างของดิน
ปริมาณอินทรียวัตถุ ปริมาณฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์ และปริมาณโพแทสเซียมที่แลกเปลี่ยนได้ และ
วิเคราะห์ปริมาณจุลินทรีย์ทุกต ารับทดลองที่ใส่ผลิตภัณฑ์ปุ๋ยชีวภาพส าหรับนาข้าว
1.3.2 ข้อมูลข้าวปทุมธานี 1
1) การเจริญเติบโต ได้แก่ ความสูง และการแตกกอ
2) ผลผลิตและองค์ประกอบผลผลิต ได้แก่ จ านวนรวงต่อกอ เปอร์เซ็นต์เมล็ดลีบ
น้ าหนัก 100 เมล็ด และผลผลิตข้าวที่ระดับความชื้น 14 เปอร์เซ็นต์
1.4 การวิเคราะห์ข้อมูล
น าข้อมูลมาวิเคราะห์ค่าความแปรปรวน (analysis of variance) ตามแผนการทดลองแบบ
RCBD และเปรียบเทียบความแตกต่างระหว่างต ารับการทดลองโดยใช้ Fisher's Least Significant
Difference (LSD) ที่ระดับความเชื่อมั่น 95 เปอร์เซ็นต์
ผลการวิจัยและวิจารณ์
1. การศึกษาประสิทธิภาพของผลิตภัณฑ์ปุ๋ยชีวภาพส าหรับนาข้าวต่อการเปลี่ยนแปลงสมบัติทางเคมีใน
ดินเหนียว
1. การเปลี่ยนแปลงสมบัติทางเคมีของดิน
สมบัติทางเคมีของดิน ปีที่ 1