Page 24 - การศึกษาประสิทธิภาพของผลิตภัณฑ์ปุ๋ยชีวภาพสำหรับนาข้าวต่อการเจริญเติบโต และผลผลิตข้าวปทุมธานี 1 ในดินเหนียว จ.สุพรรณบุรี Study efficiency of biofertilizer for rice cultivation on growth and rice yield in clayer soil in Suphanburi province.
P. 24

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน




                   ตารางที่ 6 สมบัติทางเคมีของดินก่อนการทดลอง ปีที่ 3

                                                                          pH     OM      Aval.P   Aval.K
                                        ต ารับทดลอง
                                                                                 (%)    (mg/kg)  (mg/kg)
                   T1  ควบคุม                                            7.57    1.82    252.67   121.33

                   T2  ปุ๋ยเคมี (อัตราตามค่าวิเคราะห์ดิน)                7.77    1.70    244.67   159.67

                   T3  ใช้ผลิตภัณฑ์ปุ๋ยชีวภาพส าหรับนาข้าวรูปแบบน้ า     7.73    1.77    281.33   143.67
                   T4  ใช้ผลิตภัณฑ์ปุ๋ยชีวภาพส าหรับนาข้าวรูปแบบน้ า + ปุ๋ยเคมี 50%   7.47   1.56   306.00   140.67

                   T5  ใช้ผลิตภัณฑ์ปุ๋ยชีวภาพส าหรับนาข้าวรูปแบบน้ า + ปุ๋ยเคมี 70%   7.53   1.86   295.67   193.33

                   T6  ใช้ผลิตภัณฑ์ปุ๋ยชีวภาพส าหรับนาข้าวรูปแบบผง       7.63    1.41    264.67   113.33
                   T7  ใช้ผลิตภัณฑ์ปุ๋ยชีวภาพส าหรับนาข้าวรูปแบบผง + ปุ๋ยเคมี 50%   7.57   1.80   265.67   140.33

                   T8  ใช้ผลิตภัณฑ์ปุ๋ยชีวภาพส าหรับนาข้าวรูปแบบผง + ปุ๋ยเคมี 70%   7.50   1.39   285.33   127.33

                                          CV (%)                         1.88    13.68   13.54    23.14
                                          F-test                          ns      ns      ns        ns


                   หมายเหตุ:  ns =  ไม่มีความแตกต่างกันทางสถิติ

                   ตารางที่ 7 สมบัติทางเคมีของดินหลังการทดลอง ปีที่ 3

                                                                          pH     OM     Aval.P    Aval.K
                                        ต ารับทดลอง
                                                                                 (%)    (mg/kg)   (mg/kg)
                   T1  ควบคุม                                            7.37   2.07   269.33     154.00

                   T2  ปุ๋ยเคมี (อัตราตามค่าวิเคราะห์ดิน)                7.29   2.16   228.67     158.33
                   T3  ใช้ผลิตภัณฑ์ปุ๋ยชีวภาพส าหรับนาข้าวรูปแบบน้ า     7.29   1.89    244.33    138.67

                   T4  ใช้ผลิตภัณฑ์ปุ๋ยชีวภาพส าหรับนาข้าวรูปแบบน้ า + ปุ๋ยเคมี 50%   7.35   2.02   236.67   141.00

                   T5  ใช้ผลิตภัณฑ์ปุ๋ยชีวภาพส าหรับนาข้าวรูปแบบน้ า + ปุ๋ยเคมี 70%   7.24   1.65   212.00   119.33
                   T6  ใช้ผลิตภัณฑ์ปุ๋ยชีวภาพส าหรับนาข้าวรูปแบบผง       7.22   1.54    243.00    128.33

                   T7  ใช้ผลิตภัณฑ์ปุ๋ยชีวภาพส าหรับนาข้าวรูปแบบผง + ปุ๋ยเคมี 50%   7.26   1.84   250.33   141.00

                   T8  ใช้ผลิตภัณฑ์ปุ๋ยชีวภาพส าหรับนาข้าวรูปแบบผง + ปุ๋ยเคมี 70%   7.50   1.93   253.67   132.33
                                          CV (%)                         2.50  17.30    10.42     11.88

                                          F-test                          ns     ns       ns        ns

                   หมายเหตุ:  ns =  ไม่มีความแตกต่างกันทางสถิติ

                          2. การวิเคราะห์ปริมาณจุลินทรีย์ในดินที่ใส่ผลิตภัณฑ์ปุ๋ยชีวภาพส าหรับนาข้าว
                            ผลการวิเคราะห์ปริมาณจุลินทรีย์ในดินปีที่ 1
                                                                                               7
                            ผลการวิเคราะห์ปริมาณจุลินทรีย์เอนโดไฟท์ในแปลงเพาะกล้ามีปริมาณ 1.3x10   จ านวนโคโลนี
                   ต่อกรัม ส าหรับปริมาณแบคทีเรียในผลิตภัณฑ์ปุ๋ยชีวภาพส าหรับนาข้าว วิเคราะห์ปริมาณจุลินทรีย์ 2 สาย

                   พันธุ์ คือ Azospirillum brasilence และ Silicate bacteria ซึ่งเป็น Bacillus megaterium ในผลิตภัณฑ์
                   ปุ๋ยชีวภาพส าหรับนาข้าวทั้งรูปแบบน้ าและรูปแบบผง พบว่าปริมาณจุลินทรีย์ A. brasilence ในต ารับทดลอง
   19   20   21   22   23   24   25   26   27   28   29